นำไปใช้ภายนอกอาคาร ซึ่งต้องทนรับสภาวะอากาศทุกประเภท ทั้งร้อน ฝน
หนาว หรือแม้กระทั่ง หมอกควัน ที่มีสภาพความเป็นกรด-ด่าง
ตลอดจนความชื้นที่แตกต่างกันไปแต่ละฤดูกาลและยังสามารถดัดโค้งขึ้นรูปได้ง่ายอีกด้วย
การใช้งาน สามารถใช้งานได้ทั้งภายใน และ ภายนอกอาคาร เช่น ทำเป็นผนังห้อง ฝ้าเพดาน
หุ้มเสา ป้ายโฆษณา หลังคากันสาด หรือ ใช้หุ้มภายนอกอาคารทดแทนการทาสี
สถาปนิกนิยมใช้ในการออกแบบ -
ปรับปรุงโครงสร้างอาคารขนาดใหญ่ และอาคารสำนักงาน รวมถึงงานระบบสาธารณูปโภคต่างๆ
รวมทั้งตึกแถว
ออฟฟิศที่มีขนาดเล็กในปัจจุบันก็นิยมนำวัสดุดังกล่าวมาใช้ในการตกแต่งอีกด้วย
แผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิทนั้น โดยทั่วไปจะใช้แผ่นประกบเป็นแผ่นอลูมิเนียมบางประมาณ
0.15 - 0.50 มม. ความหนารวม มีให้เลือกตั้งแต่ 3
มม. จนถึง 6
มม. ความหนาอลูมิเนียม 0.12
มม. จนถึง 0.5
มม. และ แกนกลางเป็นโพลีเอทิลีนความหนาแน่นต่ำ (LDPE)
ด้วยน้ำหนักเบา
แผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิทจะมีน้ำหนักเฉลี่ยไม่เกิน 5.50 กิโลกรัม ต่อตารางเมตร (
ขึ้นอยู่กับขนาดความหนารวม และ ความหนาของแผ่นอลูมิเนียม )
ซึ่งเมื่อเทียบกับวัสดุอื่น ๆ ที่มีความแข็งแรงเท่าๆ กันแล้ว จะมีน้ำหนักมากกว่า
คุณสมบัติที่ดีของอลูมิเนียมคือ
1. หลากหลายสี มีสีสันให้เลือกมากมายทั้งสีด้าน
สีมัน ลายไม้ สีเงินมันเงา
2. ทนการกัดกร่อนได้ดี, ไม่เกิดสนิม
และน้ำหนักเบา เมื่อเทียบกับเหล็กกับวัสดุอื่น ๆ ที่มีความแข็งแรงเท่าๆ กันแล้ว
จะมีน้ำหนักมากกว่า
3. สีสันสวยงามทนนาน
ใช้สารเคลือบผิวคุณภาพดีทำให้ผิวเรียบ ยึดเกาะกับแผ่นอลูมิเนียมได้ดีติดแน่น
ไม่หลุดล่อน สามารถทนสภาวะอากาศที่เป็นกรด-ด่างได้ดี
4. สามารถใช้งานได้ดีในสถานที่ๆมีการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศขึ้นลงสูง
5. ทนแรงกระแทก
และ กันเสียง แผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิทมีข้อได้เปรียบกว่าวัสดุอื่น
สามารถทนแรงกระแทกได้ดีกว่าพลาสติกและแผ่นอลูมิเนียมธรรมดาได้ถึง 6
เท่า
ชุดอุปกรณ์ติดตั้ง แผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิท(composite)
- อุปกรณ์ติดตั้งทั้งหมด
ชุดอุปกรณ์ติดตั้ง แผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิท(composite)
- อุปกรณ์ติดตั้งทั้งหมด
ระบบการติดตั้งที่นิยมใช้กันทั่วไป
แผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิต (Aluminum Composite Panel) ที่นิยมใช้กันทั่วไปมีดังนี้
แผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิต (Aluminum Composite Panel) ที่นิยมใช้กันทั่วไปมีดังนี้
1. การติดตั้งระบบไม่มีเฟรม การติดตั้งชนิดนี้
จะใช้กับแผ่นงานที่พับขึ้นรูปแบบถาดยึดด้วยฉากอลูมิเนียม
เป็นวิธีที่ง่ายและนิยมใช้กันทั่วไป
ทั้งงานอาคารใหม่ และการปรับปรุงอาคารเก่า
โดยหลังจากติดตั้งแผ่น เข้ากับโครงแล้ว จะต้องยาแนวที่รอยต่อระหว่างแผ่นงาน
ด้วยซิลิโคน
ซีลแลนท์เพื่อการป้องกันน้ำเข้า
2. การติดตั้งระบบมีเฟรม โดยทั่วไปแล้ว
การติดตั้งแบบไม่ยาแนวรอยต่อ ซึ่งต้องการรอยต่อที่แคบและสวยงามระหว่างแผ่น
และช่วยลดปัญหาการเกิดคราบสกปรกบนผิววัสดุ
เนื่องจากคราบน้ำมันของวัสดุยาวแนว
3. การติดตั้งระบบแขวน
วิธีการแขวนเป็นการติดตั้งที่ง่ายและใช้กันทั่วไป
วิธีนี้ช่วยทำให้การติดตั้งที่หน้างานทำได้สะดวกและรวดเร็ว
เป็นระบบที่สามารถรองรับการขยายตัว หรือหดตัวของแผ่นงานเนื่องจากความร้อนได้ดี
โดยแผ่นงานจะถูกแขวนไว้เท่านั้น
รายละเอียดการติดตั้ง
1.การติดตั้งแผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิท โดยทุก ส่วนที่ติดตั้งจะต้องได้ระนาบทั้งในแนวตั้งและแนวนอน แนวรอยต่อแผ่นจะต้องเป็นเส้นตรงได้ฉาก มีความประณีต
2.กำหนดหาตำแหน่งงานโครงสร้างต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานติดตั้งแผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิท เพื่อใช้คํานวณหา ตําแหน่งของโครงเคร่าและจะต้องทําการตรวจสอบสถานที่ก่อสร้างทุกแห่งที่จะต้องมีการติดตั้งก่อนเสมอ
3.ต้องออกแบบระบบผนังอลูมิเนียมให้มี Coping และ Flashing รวมทั้ง รายละเอียดอื่นๆ ที่จําเป็นต่องาน โดยบริเวณที่เป็น Coping จะต้องถูกออกแบบให้ลาดเอียงเข้าไปหาตัว อาคารประมาณ 5 องศา เพื่อให้การระบายนํ้าลงไปสู่บริเวณหลังคาเป็นไปอย่างต่อเนื่องและป้องกันไม่ให้เกิดคราบสกปรกขึ้นแก่บริเวณผนัง
4.ขนาดรอยต่อระหว่างแผ่นตามแนวตั้งและแนวนอน ควรมีขนาดไม่น้อยกว่า 15 มม. รอยต่อแผ่นทุกชิ้นควรจะเป็นแบบร่องปิด ยาแนวด้วยซิลิโคน (กรณีที่ไม่ใช้ Open Joint) ชนิดที่ไม่ปล่อย คราบนํ้ามัน หรือ Non Staining Sealant โดยแนวร่องที่จะต้องยาแนวปิดด้วยซิลิโคน จะต้องมีโฟมเส้นรองรับอยู่ด้านหลัง (Closed Cell Polyethylene Backer Rod) และขนาดความลึกของซิลิโคนจะต้องได้รับการแนะนําจากผู้จําหน่ายซิลิโคน ยี่ห้อนั้นๆ
5.พุกต่างๆใช้เพื่อยึดโครงเคร่าหลักเข้ากับผนังคอนกรีตตลอดจนสกรู น๊อต รีเวท จะต้อง คํานวณออกแบบให้เป็นไปตามข้อกําหนดเรื่องแรงลม
6.การเชื่อมต่อผนังกับโครงเคร่าอลูมิเนียม ต้องใช้สกรูสเตนเลส โดยสกรูจะต้องมีระยะห่าง เป็นไปตามที่ผู้ผลิตแผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิทได้แนะนํา
7.หากมีบริเวณใด ๆ ก็ตามที่เปิดช่องไว้เพื่อให้สามารถระบายอากาศได้ จะต้องมีตะแกรงกัน แมลงใส่เอาไว้ด้วยเสมอ
8.ต้องถอดแผ่นพลาสติกเคลือบผิวที่ปิดทับอยู่ด้านหน้า ของแผ่นออก
รายละเอียดการติดตั้ง
1.การติดตั้งแผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิท โดยทุก ส่วนที่ติดตั้งจะต้องได้ระนาบทั้งในแนวตั้งและแนวนอน แนวรอยต่อแผ่นจะต้องเป็นเส้นตรงได้ฉาก มีความประณีต
2.กำหนดหาตำแหน่งงานโครงสร้างต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานติดตั้งแผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิท เพื่อใช้คํานวณหา ตําแหน่งของโครงเคร่าและจะต้องทําการตรวจสอบสถานที่ก่อสร้างทุกแห่งที่จะต้องมีการติดตั้งก่อนเสมอ
3.ต้องออกแบบระบบผนังอลูมิเนียมให้มี Coping และ Flashing รวมทั้ง รายละเอียดอื่นๆ ที่จําเป็นต่องาน โดยบริเวณที่เป็น Coping จะต้องถูกออกแบบให้ลาดเอียงเข้าไปหาตัว อาคารประมาณ 5 องศา เพื่อให้การระบายนํ้าลงไปสู่บริเวณหลังคาเป็นไปอย่างต่อเนื่องและป้องกันไม่ให้เกิดคราบสกปรกขึ้นแก่บริเวณผนัง
5.พุกต่างๆใช้เพื่อยึดโครงเคร่าหลักเข้ากับผนังคอนกรีตตลอดจนสกรู น๊อต รีเวท จะต้อง คํานวณออกแบบให้เป็นไปตามข้อกําหนดเรื่องแรงลม
6.การเชื่อมต่อผนังกับโครงเคร่าอลูมิเนียม ต้องใช้สกรูสเตนเลส โดยสกรูจะต้องมีระยะห่าง เป็นไปตามที่ผู้ผลิตแผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิทได้แนะนํา
7.หากมีบริเวณใด ๆ ก็ตามที่เปิดช่องไว้เพื่อให้สามารถระบายอากาศได้ จะต้องมีตะแกรงกัน แมลงใส่เอาไว้ด้วยเสมอ
8.ต้องถอดแผ่นพลาสติกเคลือบผิวที่ปิดทับอยู่ด้านหน้า ของแผ่นออก
Tags:เรารับออกแบบบ,ออกแบบบ้าน, แบบบ้านชั้นเดียว, แบบแปลนบ้าน, บ้านออกแบบ, บ้าน แปลน, ฟรีแบบบ้าน, แบบบ้านสวย, แบบบ้านสองชั้น, บ้านราคา,เรารับออกแบบบ้าน, ขายแบบบ้าน, แบบต่างๆ สไตล์ต่างๆ หลากหลายแบบ, แบบบ้านสำเร็จ, แบบบ้านสวย, แบบบ้าน 2 ชั้น, แปลนบ้านชั้นเดียว, แบบบ้านชั้นเดียว, แบบบ้านไม้, แบบบ้านทรงไทย, แบบบ้านชั้นครึ่ง, แบบบ้านรีสอร์ท, บ้านและสวน, แบบบ้านฟรี, แบบบ้านราคาประหยัด, แบบบ้านราคาถูก, แบบบ้านประหยัดพลังงาน, แบบบ้านเรือนไทย, แบบบ้าน,แบบบ้านไม้ชั้นเดียว, แบบบ้าน2ชั้น, ออกแบบตกแต่งภายใน, อาคารพานิชย์, หรืออาคารต่างๆ,รับสร้างบ้าน, ตกแต่งภายใน, รับเหมาต่อเติม,ออกแบบโรงงาน,รื้อ บ้าน