คำนวณการผ่อนชำระ คำนวณหาอัตราผ่อนชำระต่อเดือน และรายได้ขั้นต่ำ คำนวณหาวงเงินกู้ที่สามารถกู้ได้ คำนวณหาระยะเวลากู้ และวงเงินกู้
click ลิงค์
http://www.scb.co.th/th/personal-banking/loans/personal-loans/housing-loans/pnb_loan_calculate
ที่มา: ธนาคารไทยพาณิชย์
เงินกู้สินเชื่อเคหะของธนาคารออมสิน
บริการเงินกู้สินเชื่อเคหะของธนาคารออมสิน เป็นสินเชื่อที่มีเงื่อนไขง่ายๆไม่ยุ่งยาก เหมาะสำหรับคนที่ต้องการมีบ้าน ต้องการไถ่ถอนจำนอง ต้องการซื้อที่ดิน หรือต้องการต่อเติมซ่อมแซมบ้าน
คุณสมบัติผู้ขอกู้เงิน :
จะมีอายุตั้งแต่ 20 ปี ขึ้นไป มีอาชีพการงานและรายได้ที่แน่นอน
วงเงินกู้ :
ไม่เกิน 95% ของราคาประเมินหลักทรัพย์ และ ไม่เกิน 90% ของราคาประเมินหลักทรัพย์ กรณีห้องชุด
ไม่เกิน 80% ของราคาขายเมื่อเริ่มโครงการ หรือไม่เกิน 70% ของราคาขายเมื่อเริ่มโครงการ กรณีซื้อห้องชุด
ไม่เกิน 100% ของราคาประเมินอาคารที่ปลูกสร้าง หรือต่อเติมซ่อมแซม
ระยะเวลาที่ต้องชำระเงินกู้ :
ต้องไม่เกิน 30 ปี และเมื่อรวมอายุกับผู้ขอกู้แล้วจะต้องไม่เกิน 65 ปี
หลักประกันเงินกู้ :
ที่ดิน , ที่ดินและอาคาร , ห้องชุด
เอกสารหลักฐานของผู้ขอกู้เงิน :
สำเนาบัตรประจำตัว , สำเนาใบสำคัญสมรส หรือสำเนาใบแสดงการหย่า หรือสำเนาใบมรณบัตรของผู้สมรส
สำเนาทะเบียนบ้านของผู้ขอกู้และคู่สมรส
เอกสารแสดงรายได้กรณีที่เป็นข้าราชการ , พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือพนักงานบริษัท
หนังสือรับรองเงินเดือนของผู้ขอกู้ และคู่สมรส
สลิปเงินเดือน , ใบเสียภาษีเงินได้
สำเนาบัญชีเงินฝากธนาคารฯ (ถ้ามี)
กรณีมีรายได้จากแหล่งอื่นๆอีก ต้องแนบหลักฐานมาประกอบการพิจารณาสินเชื่อด้วย
เอกสารแสดงรายได้กรณีที่ประกอบอาชีพส่วนตัว :
สำเนาทะเบียนการค้า , สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียน , บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น
รายการเดินบัญชี บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน หรือสำเนาบัญชีเงินฝากอย่างน้อย 6 เดือน
งบการเงิน
เอกสารอื่นๆ ที่แสดงที่มาของรายได้
เอกสารแสดงหลักทรัพย์ค้ำประกัน :
สำเนาโฉนดที่ดิน น.ส.3 ก. หรือสำเนาหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ห้องชุด (ถ่ายเอกสารทุกหน้าขนาดเท่ากับต้นฉบับ)
แผนผังบริเวณที่ตั้งหลักทรัพย์
สำเนาสัญญาจะซื้อจะขาย , ใบเสร็จรับเงินดาวน์
ราคาประเมินของกรมที่ดิน (ถ้ามี)
เอกสารอื่นๆ ตามความจำเป็นที่ใช้ในการขอกู้
กรณีต้องการปลูกสร้างหรือต่อเติมซ่อมแซมบ้าน :
แบบแปลนหรือแผนผังรายการซ่อมแซมอาคาร , ใบประเมินราคารายการซ่อมแซม
สำเนาใบอนุญาตให้ก่อสร้างอาคาร หรือสำเนาใบอนุญาตให้ต่อเติมซ่อมแซมอาคาร
สำเนาสัญญาว่าจ้างก่อสร้างอาคาร หรือสำเนาสัญญาว่าจ้างต่อเติมซ่อมแซมอาคาร
ใบให้เลขหมายประจำบ้าน หรือห้องชุด
สำเนาทะเบียนบ้านที่จะซื้อหรือต่อเติม
กรณีไถ่ถอนจำนอง :
สำเนาสัญญากู้เงิน และสัญญาจำนองพร้อมสัญญาต่อท้าย
หนังสือรับรองยอดหนี้เงินกู้คงเหลือ
ใบเสร็จรับเงินแสดงการผ่อนชำระหนี้ย้อนหลัง อย่างน้อย 6 เดือน
สำเนาทะเบียนบ้านที่ขอไถ่ถอนจำนอง
ที่มา www.gsb.or.th/loan/business/domestic.php
คุณสมบัติผู้ขอกู้เงิน :
จะมีอายุตั้งแต่ 20 ปี ขึ้นไป มีอาชีพการงานและรายได้ที่แน่นอน
วงเงินกู้ :
ไม่เกิน 95% ของราคาประเมินหลักทรัพย์ และ ไม่เกิน 90% ของราคาประเมินหลักทรัพย์ กรณีห้องชุด
ไม่เกิน 80% ของราคาขายเมื่อเริ่มโครงการ หรือไม่เกิน 70% ของราคาขายเมื่อเริ่มโครงการ กรณีซื้อห้องชุด
ไม่เกิน 100% ของราคาประเมินอาคารที่ปลูกสร้าง หรือต่อเติมซ่อมแซม
ระยะเวลาที่ต้องชำระเงินกู้ :
ต้องไม่เกิน 30 ปี และเมื่อรวมอายุกับผู้ขอกู้แล้วจะต้องไม่เกิน 65 ปี
หลักประกันเงินกู้ :
ที่ดิน , ที่ดินและอาคาร , ห้องชุด
เอกสารหลักฐานของผู้ขอกู้เงิน :
สำเนาบัตรประจำตัว , สำเนาใบสำคัญสมรส หรือสำเนาใบแสดงการหย่า หรือสำเนาใบมรณบัตรของผู้สมรส
สำเนาทะเบียนบ้านของผู้ขอกู้และคู่สมรส
เอกสารแสดงรายได้กรณีที่เป็นข้าราชการ , พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือพนักงานบริษัท
หนังสือรับรองเงินเดือนของผู้ขอกู้ และคู่สมรส
สลิปเงินเดือน , ใบเสียภาษีเงินได้
สำเนาบัญชีเงินฝากธนาคารฯ (ถ้ามี)
กรณีมีรายได้จากแหล่งอื่นๆอีก ต้องแนบหลักฐานมาประกอบการพิจารณาสินเชื่อด้วย
เอกสารแสดงรายได้กรณีที่ประกอบอาชีพส่วนตัว :
สำเนาทะเบียนการค้า , สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียน , บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น
รายการเดินบัญชี บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน หรือสำเนาบัญชีเงินฝากอย่างน้อย 6 เดือน
งบการเงิน
เอกสารอื่นๆ ที่แสดงที่มาของรายได้
เอกสารแสดงหลักทรัพย์ค้ำประกัน :
สำเนาโฉนดที่ดิน น.ส.3 ก. หรือสำเนาหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ห้องชุด (ถ่ายเอกสารทุกหน้าขนาดเท่ากับต้นฉบับ)
แผนผังบริเวณที่ตั้งหลักทรัพย์
สำเนาสัญญาจะซื้อจะขาย , ใบเสร็จรับเงินดาวน์
ราคาประเมินของกรมที่ดิน (ถ้ามี)
เอกสารอื่นๆ ตามความจำเป็นที่ใช้ในการขอกู้
กรณีต้องการปลูกสร้างหรือต่อเติมซ่อมแซมบ้าน :
แบบแปลนหรือแผนผังรายการซ่อมแซมอาคาร , ใบประเมินราคารายการซ่อมแซม
สำเนาใบอนุญาตให้ก่อสร้างอาคาร หรือสำเนาใบอนุญาตให้ต่อเติมซ่อมแซมอาคาร
สำเนาสัญญาว่าจ้างก่อสร้างอาคาร หรือสำเนาสัญญาว่าจ้างต่อเติมซ่อมแซมอาคาร
ใบให้เลขหมายประจำบ้าน หรือห้องชุด
สำเนาทะเบียนบ้านที่จะซื้อหรือต่อเติม
กรณีไถ่ถอนจำนอง :
สำเนาสัญญากู้เงิน และสัญญาจำนองพร้อมสัญญาต่อท้าย
หนังสือรับรองยอดหนี้เงินกู้คงเหลือ
ใบเสร็จรับเงินแสดงการผ่อนชำระหนี้ย้อนหลัง อย่างน้อย 6 เดือน
สำเนาทะเบียนบ้านที่ขอไถ่ถอนจำนอง
ที่มา www.gsb.or.th/loan/business/domestic.php
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สินเชื่อเงินกู้ซื้อที่ดินพร้อมบ้าน
สินเชื่อเงินกู้ซื้อที่ดินพร้อมบ้าน
1. วงเงินให้กู้
-ให้กู้ในวงเงินไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และ ไม่เกิน 85% ของราคาซื้อ-ขาย
-กรณีซื้ออาคารพาณิชย์ ให้กู้ได้ไม่เกิน 75% ของราคาประเมิน และไม่เกิน 75% ของราคาซื้อขาย
-กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือนผู้กู้ และอีก 15 เท่าของรายได้อื่น ๆ หรือไม่ เกิน 40 เท่าสำหรับอาชีพอิสระ (โดยประมาณ)
2. ระยะเวลาให้กู้
-ระยะเวลาให้กู้สูงสุด 30 ปี
-อายุของผู้กู้รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้จะต้องไม่เกิน 70 ปี
3. เอกสารประกอบการกู้
-คำขอกู้เงิน
-*เอกสาร
-หากมีผู้กู้ร่วม ขอให้ผู้กู้ร่วมมายื่นคำขอกู้พร้อมหลักฐานแสดงรายได้และเอกสาร ส่วนตัวของแต่ละท่าน
4. ค่าใช้จ่ายในการกู้
4.1 ค่าใช้จ่าย ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
-กู้ไม่เกิน 500,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 1,700 บาท
-กู้ไม่เกิน 500,001 - 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,200 บาท
-กู้เกิน 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,500 บาท
-ค่าตรวจสอบผลงานการก่อสร้าง ต่อเติม หรือ ซ่อมแซม ครั้งละ 600 บาท
-ค่าดำเนินการเพื่อขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมจำนอง
-รายละ 500 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ
-รายละ 600 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตปริมณฑล (หรือมากกว่านี้ตามที่ธนาคารเห็นสมควร)
-ชำระในวันนัดทำนิติกรรม
4.2 ค่าใช้จ่าย ณ สำนักงานที่ดิน ในวันทำนิติกรรมจำนอง (จ่ายกับสำนักงานที่ดิน)
-ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง 1% ของจำ
5. วิธีการชำระหนี้เงินกู้
ชำระเงินกู้งวดแรก ภายใน 30 วัน นับจากวันที่รับเงินกู้ไปจากธนาคารฯ และชำระเงินกู้งวด ต่อไปทุกเดือน จนกว่าจะชำระหนี้เสร็จสิ้น โดยมีวิธีชำระเงินกู้ดังต่อไป
5.1 ชำระเป็นเงินสดหรือเช็ค
5.2 ชำระผ่านบัญชีเงินฝากธนาคารอาคารสงเคราะห์
5.3 ชำระโดยวิธีการหักบัญชีเงินฝาก เงินฝากออมทรัพย์ หรือเงินฝากกระแสรายวัน ที่เปิดไว้กับ
-ธนาคารกรุงไทย -หรือ
-ธนาคารกรุงเทพ -หรือ
-ธนาคารไทยพาณิชย์
ทุกสาขาทั่วราชอาณาจักร ทั้งนี้ผู้กู้จะต้องนำเงินฝากเข้าบัญชี ก่อนวันที่ 5 ของทุกเดือน
5.4 ชำระผ่านจุดรับ-จ่ายเงิน (PAY-POINT) และ Pay at Post
5.5 ชำระผ่านเคาเตอร์ ธนาคารนครหลวงไทย และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ทั่วประเทศ
5.6 ชำระผ่านที่ทำการไปรษณีย์ทุกแห่งทั่วประเทศ เสียค่าธรรมเนียทรายการล่ะ 10 บาท ไม่เกินรายการล่ะ 50,000 บาท
5.7 ชำระผ่านเคาน์เตอร์การเงินนอกสถานที่ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ จำนวน 10 แห่ง ได้แก่ แฟชั่นไอส์แลนด์ ศูนย์การค้าฟอร์จูน อิมพีเรียล (สำโรง) ฟิวเจอร์พาร์ค (รังสิต) บิ๊กซี (แจ้งวัฒนะ บางนา) และเดอร์มอลล์ (บางกะปิ บางแค ท่าพระ งามวงศ์วาน)
5.8 ชำระได้ที่ศูนย์บริการครบวงจร ณ ที่ว่าการอำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองนครปฐม อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ และอำเภทเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
(กรณีชำระในกรุงเทพ เสียค่าธรรมเนียม 10 บาท ต่างจังหวัด 15 บาท)
หมายเหตุ *เอกสารประกอบการกู้เงิน
1.สำเนาบัตรประชาชน/รัฐวิสาหกิจ/ข้าราชการพร้อมฉบับจริง
2.สำเนาทะเบียนบ้าน ทุกหน้า ทุกคนพร้อมฉบับจริง
3.สำเนาทะเบียนสมรส/ใบหย่า/ในมรณะบัตร/ใบแจ้งความแยกกันอยู่ พร้อมฉบับจริง
4.สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของคู่สมรสพร้อมฉบับจริง
5.สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ-นามสกุล(ถ้ามี)พร้อมฉบับจริง
6.ใบรับรองเงินเดือน (ฉบับจริง) หรือ หนังสือผ่านสิทธิสวัสดิการข้อตกลง (ฉบับจริง)
7.สลิปเงินเดือนหรือหลักฐานการรับรองเงินเดือนปัจจุบัน 3 เดือน ย้อนหลัง(ฉบับจริง )
8.สำเนาบัญชีเงินฝากแสดงรายการย้อนหลัง 12 เดือน หลักฐานแสดงฐานะการเงินอื่น ๆ พร้อมฉบับจริง หรือ Statement ที่สถาบันการเงินออกให้พร้อมประทับตรารับรองทุกฉบับ
9.สำเนาทะเบียนการค้า/ทะเบียนบริษัท/ห้างหุ้นส่วนฯ(ภงต.90, 91, ทวิ 50, หนังสือหักภาษี ณ ที่จ่าย)
10.หลักฐานการเสียภาษีเงินได้พร้อมใบเสร็จตัวจริงจากกรมสรรพากร ย้อนหลัง 6 เดือน
11.รูปถ่ายกิจการ จำนวน 3-4 รูป
12.สำเนาในประกอบวิชาชีพ, ในอนุญาตประกอบการ
13.สมุดทะเบียนรถยนต์, รูปถ่ายรถยนต์ 2-3 รูป
14.สำเนาสัญญาซื้อขาย/สัญญาวางมัดจำ/สัญญาเช่าซื้อการเคหะฯและหนังสือรับรองยอดคงเหลือ(กรณีซื้อ)
15.สำเนาบัตรประชาชน ทะเบียนบ้านของผู้ขาย (รับรองสำเนา)
16.สำเนาหนังสือสัญญากู้เงิน บันทึกต่อท้ายสัญญากู้เงิน
17.สำเนาสัญญาจำนอง
18.ใบเสร็จการผ่อนชำระย้อนหลัง 24 เดือน(กรณีไถ่ถอน)
19.ใบขออนุญาตปลูกสร้าง/รื้อถอนอาคาร
20.แบบแปลน รูปพื้น, ด้านข้างทั้ง 4 ด้าน , ด้านตัดขวาง
21.สำเนาสัญญาจ้างเหมาปลูกสร้าง (กรณีปลูกสร้าง/ต่อเติม) พร้อมสำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้านของผู้รับเหมา
22.หลักฐานการเป็นเจ้าของอาคารเลขที่.....................
23.ใบประมาณราคาค่าปลูกสร้าง
24.สำเนาสัญญาขาย/ให้ ฉบับกรมที่ดิน
25.สำเนาโฉนดที่ดิน/นส.3ก/หนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด/อช.2(2 ชุด)
ที่มา: ธนาคารอาคารสงเคราะห์
1. วงเงินให้กู้
-ให้กู้ในวงเงินไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และ ไม่เกิน 85% ของราคาซื้อ-ขาย
-กรณีซื้ออาคารพาณิชย์ ให้กู้ได้ไม่เกิน 75% ของราคาประเมิน และไม่เกิน 75% ของราคาซื้อขาย
-กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือนผู้กู้ และอีก 15 เท่าของรายได้อื่น ๆ หรือไม่ เกิน 40 เท่าสำหรับอาชีพอิสระ (โดยประมาณ)
2. ระยะเวลาให้กู้
-ระยะเวลาให้กู้สูงสุด 30 ปี
-อายุของผู้กู้รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้จะต้องไม่เกิน 70 ปี
3. เอกสารประกอบการกู้
-คำขอกู้เงิน
-*เอกสาร
-หากมีผู้กู้ร่วม ขอให้ผู้กู้ร่วมมายื่นคำขอกู้พร้อมหลักฐานแสดงรายได้และเอกสาร ส่วนตัวของแต่ละท่าน
4. ค่าใช้จ่ายในการกู้
4.1 ค่าใช้จ่าย ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
-กู้ไม่เกิน 500,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 1,700 บาท
-กู้ไม่เกิน 500,001 - 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,200 บาท
-กู้เกิน 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,500 บาท
-ค่าตรวจสอบผลงานการก่อสร้าง ต่อเติม หรือ ซ่อมแซม ครั้งละ 600 บาท
-ค่าดำเนินการเพื่อขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมจำนอง
-รายละ 500 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ
-รายละ 600 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตปริมณฑล (หรือมากกว่านี้ตามที่ธนาคารเห็นสมควร)
-ชำระในวันนัดทำนิติกรรม
4.2 ค่าใช้จ่าย ณ สำนักงานที่ดิน ในวันทำนิติกรรมจำนอง (จ่ายกับสำนักงานที่ดิน)
-ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง 1% ของจำ
5. วิธีการชำระหนี้เงินกู้
ชำระเงินกู้งวดแรก ภายใน 30 วัน นับจากวันที่รับเงินกู้ไปจากธนาคารฯ และชำระเงินกู้งวด ต่อไปทุกเดือน จนกว่าจะชำระหนี้เสร็จสิ้น โดยมีวิธีชำระเงินกู้ดังต่อไป
5.1 ชำระเป็นเงินสดหรือเช็ค
5.2 ชำระผ่านบัญชีเงินฝากธนาคารอาคารสงเคราะห์
5.3 ชำระโดยวิธีการหักบัญชีเงินฝาก เงินฝากออมทรัพย์ หรือเงินฝากกระแสรายวัน ที่เปิดไว้กับ
-ธนาคารกรุงไทย -หรือ
-ธนาคารกรุงเทพ -หรือ
-ธนาคารไทยพาณิชย์
ทุกสาขาทั่วราชอาณาจักร ทั้งนี้ผู้กู้จะต้องนำเงินฝากเข้าบัญชี ก่อนวันที่ 5 ของทุกเดือน
5.4 ชำระผ่านจุดรับ-จ่ายเงิน (PAY-POINT) และ Pay at Post
5.5 ชำระผ่านเคาเตอร์ ธนาคารนครหลวงไทย และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ทั่วประเทศ
5.6 ชำระผ่านที่ทำการไปรษณีย์ทุกแห่งทั่วประเทศ เสียค่าธรรมเนียทรายการล่ะ 10 บาท ไม่เกินรายการล่ะ 50,000 บาท
5.7 ชำระผ่านเคาน์เตอร์การเงินนอกสถานที่ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ จำนวน 10 แห่ง ได้แก่ แฟชั่นไอส์แลนด์ ศูนย์การค้าฟอร์จูน อิมพีเรียล (สำโรง) ฟิวเจอร์พาร์ค (รังสิต) บิ๊กซี (แจ้งวัฒนะ บางนา) และเดอร์มอลล์ (บางกะปิ บางแค ท่าพระ งามวงศ์วาน)
5.8 ชำระได้ที่ศูนย์บริการครบวงจร ณ ที่ว่าการอำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองนครปฐม อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ และอำเภทเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
(กรณีชำระในกรุงเทพ เสียค่าธรรมเนียม 10 บาท ต่างจังหวัด 15 บาท)
หมายเหตุ *เอกสารประกอบการกู้เงิน
1.สำเนาบัตรประชาชน/รัฐวิสาหกิจ/ข้าราชการพร้อมฉบับจริง
2.สำเนาทะเบียนบ้าน ทุกหน้า ทุกคนพร้อมฉบับจริง
3.สำเนาทะเบียนสมรส/ใบหย่า/ในมรณะบัตร/ใบแจ้งความแยกกันอยู่ พร้อมฉบับจริง
4.สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของคู่สมรสพร้อมฉบับจริง
5.สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ-นามสกุล(ถ้ามี)พร้อมฉบับจริง
6.ใบรับรองเงินเดือน (ฉบับจริง) หรือ หนังสือผ่านสิทธิสวัสดิการข้อตกลง (ฉบับจริง)
7.สลิปเงินเดือนหรือหลักฐานการรับรองเงินเดือนปัจจุบัน 3 เดือน ย้อนหลัง(ฉบับจริง )
8.สำเนาบัญชีเงินฝากแสดงรายการย้อนหลัง 12 เดือน หลักฐานแสดงฐานะการเงินอื่น ๆ พร้อมฉบับจริง หรือ Statement ที่สถาบันการเงินออกให้พร้อมประทับตรารับรองทุกฉบับ
9.สำเนาทะเบียนการค้า/ทะเบียนบริษัท/ห้างหุ้นส่วนฯ(ภงต.90, 91, ทวิ 50, หนังสือหักภาษี ณ ที่จ่าย)
10.หลักฐานการเสียภาษีเงินได้พร้อมใบเสร็จตัวจริงจากกรมสรรพากร ย้อนหลัง 6 เดือน
11.รูปถ่ายกิจการ จำนวน 3-4 รูป
12.สำเนาในประกอบวิชาชีพ, ในอนุญาตประกอบการ
13.สมุดทะเบียนรถยนต์, รูปถ่ายรถยนต์ 2-3 รูป
14.สำเนาสัญญาซื้อขาย/สัญญาวางมัดจำ/สัญญาเช่าซื้อการเคหะฯและหนังสือรับรองยอดคงเหลือ(กรณีซื้อ)
15.สำเนาบัตรประชาชน ทะเบียนบ้านของผู้ขาย (รับรองสำเนา)
16.สำเนาหนังสือสัญญากู้เงิน บันทึกต่อท้ายสัญญากู้เงิน
17.สำเนาสัญญาจำนอง
18.ใบเสร็จการผ่อนชำระย้อนหลัง 24 เดือน(กรณีไถ่ถอน)
19.ใบขออนุญาตปลูกสร้าง/รื้อถอนอาคาร
20.แบบแปลน รูปพื้น, ด้านข้างทั้ง 4 ด้าน , ด้านตัดขวาง
21.สำเนาสัญญาจ้างเหมาปลูกสร้าง (กรณีปลูกสร้าง/ต่อเติม) พร้อมสำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้านของผู้รับเหมา
22.หลักฐานการเป็นเจ้าของอาคารเลขที่.....................
23.ใบประมาณราคาค่าปลูกสร้าง
24.สำเนาสัญญาขาย/ให้ ฉบับกรมที่ดิน
25.สำเนาโฉนดที่ดิน/นส.3ก/หนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด/อช.2(2 ชุด)
ที่มา: ธนาคารอาคารสงเคราะห์
หลักเกฑณ์การปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงิน
ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ซื้อ ปลูกสร้าง ต่อเติม/ซ่อมแซมที่อยู่อาศัยพร้อมกับขอกู้เพื่ออุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
1. วัตถุประสงค์การกู้
เพื่อซื้อที่ดินพร้อมอาคาร หรือห้องชุด พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
เพื่อปลูกสร้างอาคาร หรือเพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคาร พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
เพื่อต่อเติม หรือขยาย หรือซ่อมแซมอาคาร พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
2. วงเงินให้กู้ตามเกณฑ์หลักประกัน
บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และบ้านแฝด
ไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาซื้อขาย
อาคารพาณิชย์
ไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาซื้อขาย
ห้องชุดราคาตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป
ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาซื้อขาย
ห้องชุดราคาต่ำกว่า 1 ล้านบาท
ไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาซื้อขาย
โดยแยกเป็น 2 บัญชี :
บัญชี 1 เพื่อที่อยู่อาศัย ไม่เกินเกณฑ์หลักประกันสินเชื่อปกติ
บัญชี 2 เพื่ออุปกรณ์ฯ วงเงินกู้เมื่อรวมกับบัญชี 1 ต้องไม่เกินเกณฑ์หลักประกันข้างต้น
3. ระยะเวลากู้
ไม่เกิน 30 ปี อายุผู้กู้รวมกับระยะเวลากู้ไม่เกิน 70 ปี
4. อัตราดอกเบี้ยเงินกู้
บัญชี 1 เพื่อที่อยู่อาศัย อัตราดอกเบี้ยตามหลักเกณฑ์ ปัจจุบัน
บัญชี 2 เพื่ออุปกรณ์ฯ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลอยตัวตลอด อายุสัญญากู้เงินเท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง MRR ตามประกาศธนาคาร
เงินกู้ซื้อที่ดินพร้อมบ้าน
1. วงเงินให้กู้
ให้กู้ในวงเงินไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และ ไม่เกิน 85% ของราคาซื้อ-ขาย
กรณีซื้ออาคารพาณิชย์ ให้กู้ได้ไม่เกิน 75% ของราคาประเมิน และไม่เกิน
75% ของราคาซื้อขาย
กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือนผู้กู้ และอีก 15 เท่าของรายได้อื่น ๆ
หรือไม่ เกิน 40 เท่าสำหรับอาชีพอิสระ (โดยประมาณ)
2. ระยะเวลาให้กู้
ระยะเวลาให้กู้สูงสุด 30 ปี
อายุของผู้กู้รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้จะต้องไม่เกิน 70 ปี
3. เอกสารประกอบการกู้
คำขอกู้เงิน
เอกสาร
หากมีผู้กู้ร่วม ขอให้ผู้กู้ร่วมมายื่นคำขอกู้พร้อมหลักฐานแสดงรายได้และเอกสาร
ส่วนตัวของแต่ละท่าน
4. ค่าใช้จ่ายในการกู้
ค่าใช้จ่าย ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
กู้ไม่เกิน 500,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 1,700 บาท
กู้ไม่เกิน 500,001 - 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,200 บาท
กู้เกิน 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,500 บาท
ค่าตรวจสอบผลงานการก่อสร้าง ต่อเติม หรือ ซ่อมแซม ครั้งละ 600 บาท
ค่าดำเนินการเพื่อขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมจำนอง
รายละ 500 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ
รายละ 600 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตปริมณฑล (หรือมากกว่านี้ตามที่ธนาคารเห็นสมควร)
ชำระในวันนัดทำนิติกรรม
ค่าใช้จ่าย ณ สำนักงานที่ดิน ในวันทำนิติกรรมจำนอง (จ่ายกับสำนักงานที่ดิน)
ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง 1% ของจำนวนเงินกู้
ธนาคารกรุงไทย
อัตราดอกเบี้ย
พิเศษ... สำหรับคุณที่ต้องการมีบ้าน เพื่อสร้างอนาคตร่วมกันให้กับทุกคนในครอบครัว ธนาคารกรุงไทยขอเสนอ
อัตราดอกเบี้ยดังนี้
-
กรณีลูกค้าทั่วไป
:
คงที่ 1 ปี 4.75 % หลังจากนั้น MLR-0.25 %
-
กรณี Project Finanace
:
คงที่ 1 ปี 4.25 % หลังจากนั้น MLR-0.25 %
สิทธิพิเศษ
- ให้กู้สินเชื่อกรุงไทยเพิ่มสุข เพื่อซื้อเครื่องอุปโภค เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการกู้ ค่าตกแต่งบ้าน หรือค่าใช้จ่ายอื่นๆ ซึ่งเมื่อรวมกับวงเงินกู้สินเชื่อกรุงไทยเคหะแล้วไม่เกิน 95% ของราคาประเมินฯ หรือราคาซื้อขายจริง
- ให้กู้สินเชื่อกรุงไทยเพิ่มสุข เพื่อชำระค่าเบี้ยประกันชีวิต (MRTA) ซึ่งเมื่อรวมกับวงเงินกู้สินเชื่อกรุงไทย
เคหะ แล้วไม่เกิน 100%
- คิดดอกเบี้ยอัตราร้อยละ MLR ทุกวงเงิน
คุณสมบัติของผู้กู้
- มีอาชีพมั่นคง หรือมีรายได้ประจำแน่นอน
- กรณี Refinance ต้องมีประวัติการผ่อนชำระดี
- อายุของผู้กู้ เมื่อรวมกับระยะเวลาในการผ่อนชำระต้องไม่เกิน 65 ปี
ประเภทบริการ
- เพื่อซื้อบ้าน, อาคารชุด, ทาวน์เฮ้าส์ หรืออาคารพาณิชย์
- เพื่อปลูกสร้างบ้าน ปรับปรุง ต่อเติมหรือซ่อมแซมที่อยู่อาศัยของตนเอง
- เพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างบ้าน หรือไถ่ถอนที่ดิน จากธนาคารหรือสถาบันการเงินอื่น พร้อมปลูกสร้างบ้าน
ในคราวเดียวกัน
- Refinance
เงื่อนไขการให้บริการ
- กรณีราคาซื้อขายไม่ถึง 10 ล้านบาท วงเงินกู้สูงสุด 90 % ของราคาประเมินหลักประกัน หรือราคาซื้อขายจริงแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ยกเว้น กรณีซื้อห้องชุดในอาคารชุดให้วงเงินกู้สูงสุด 80% ของราคาประเมินหรือราคาซื้อขายแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า
- กรณีราคาซื้อขายตั้งแต่ 10 ล้านบาท วงเงินกู้สูงสุด 70 % ของราคาซื้อขาย
- ระยะเวลาการให้กู้ 30 ปี
เอกสารประกอบการขอกู้
- สำเนาบัตรประชาชน/ บัตรข้าราชการ / ใบเปลี่ยนชื่อ - สกุล (ถ้ามี) (ผู้กู้และคู่สมรส)
- สำเนาทะเบียนบ้านทุกหน้า
- ทะเบียนสมรส / ทะเบียนหย่า (ถ้ามี)/ใบมรณะบัตร (กรณีคู่สมรสเสียชีวิต)
- สัญญาจะซื้อจะขาย และสำเนาโฉนดที่ดิน (ทุกหน้าขนาดเท่าจริง)
- สัญญาจะซื้อจะขาย, สัญญาว่าจ้าง, แบบแปลนการก่อสร้าง, ใบอนุญาตก่อสร้าง (กรณีปลูกสร้าง)
- หลักฐานแสดงรายการเดินบัญชีทุกประเภทบัญชีที่มีย้อนหลัง 6 เดือน
- ใบรับรองเงินเดือนหรือใบแสดงรายได้เดือนสุดท้าย (กรณีเป็นผู้มีรายได้ประจำ / เงินเดือน)
- ทะเบียนการค้า / หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (กรณีประกอบธุรกิจส่วนตัว)
- ใบเสร็จชำระเงินการผ่อนชำระ 3 เดือนสุดท้ายของสถาบันการเงินเดิม, สัญญากู้, สัญญาจำนองหลักทรัพย์ กรณีไถ่ถอนฯ
- ใบเสร็จรับเงินการผ่อนชำระเงินดาวน์
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่บมจ. ธนาคารกรุงไทย ทุกสาขาทั่วประเทศ
ฝ่ายบริหารผลิตภัณฑ์เพื่อที่อยู่อาศัย โทร. 0 2208 8356-8
หรือที่ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ (www.contactcenter.ktb.co.th) หรือโทร. 1551
สินเชื่อธนาคารไทยพาณิชย์
เป็นบริการสินเชื่อที่ธนาคารให้กู้ยืมแก่ลูกค้าที่มีวัตถุประสงค์เพื่อนำไปซื้อหรือ ซ่อมแซมที่อยู่อาศัย
โดยมีการผ่อนชำระคืนเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายเดือน
เท่าๆ กันทุกเดือนตามระยะเวลา อัตราดอกเบี้ย และเงื่อนไขตามที่ธนาคารกำหนด
วัตถุประสงค์ในการกู้ยืม
• การซื้อหรือสร้างบ้าน ทาวน์เฮาส์ อาคารพาณิชย์หรือสร้างบ้าน
บนที่ดินที่มีอยู่
• การซื้ออาคารชุดคอนโดมิเนียม การตกแต่ง ซ่อมแซมที่อยู่อาศัย
• ซื้อที่ดินเพิ่มเติมต่อจากที่ใช้อาศัยการซื้อที่ดินว่างเปล่าหรือสวนเกษตร
เพื่อสร้างบ้าน
ประเภทสินเชื่อที่ให้บริการ
• สินเชื่อเพื่อการเคหะในโครงการ (MORTGAGE FINANCE) ที่ธนาคาร
สนับสนุนรายละเอียดเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในแต่ละโครงการ
• สินเชื่อเพื่อการเคหะนอกโครงการที่ธนาคารสนับสนุน
เงื่อนไข/จุดเด่นบริการ
• วงเงินกู้สูงสุด 85% ของราคาประเมิน
• สามารถกู้เพิ่มอีก 10% ของราคาซื้อขายในกรณีซื้อบ้านที่ธนาคาร
สนับสนุน
• สามารถกู้เพิ่มอีก 5 % ของราคาประเมินเพื่อซื้อเครื่องอุปโภคบริโภค
เพื่ออำนวยสุขในบ้าน
• สามารถขอวงเงินกู้เพื่อชำระค่าเบี้ยประกันของ "บริการประกันสุข"
ได้แก่ กลุ่มประกันชีวิต, กลุ่มประกันสุขภาพและกลุ่มประกันทรัพย์สิน
• อัตราดอกเบี้ยเท่ากับ MLR หรืออัตราดอกเบี้ยคงที่
• ผ่อนนานถึง 30 ปี
• ทำประกันอัคคีภัย พิทักษ์ภัย ได้ตั้งแต่ 1 - 30 ปี
คุณค่าพิเศษ
• บริการประกันชีวิต "เคหะบริการ" และ "พิทักษ์สิน" คิดอัตราค่าเบี้ย
ประกันต่ำเป็นพิเศษและสามารถขอวงเงินกู้เพิ่มเติมได้
• บริการ ในกลุ่มประกันสุขได้แก่ พิทักษ์สุข, รักษ์สุข, พิทักษ์บ้าน
,พิทักษ์ภัย และพิทักษ์มะเร็ง
หลักเกณฑ์การให้บริการ
• อายุ 20 ปีขึ้นไป และอายุของผู้กู้เมื่อรวมกับจำนวนปีที่ขอกู้ไม่ควร
เกิน 60 ปี
• อาชีพ ลูกค้าจะต้องมีการงานที่มั่นคง
• รายได้ มีรายได้แน่นอน และต้องสูงกว่าอัตราผ่อนชำระในแต่ละงวด
ประมาณ 3 เท่า
หลักฐานในการขอสินเชื่อ
• เอกสารส่วนตัว ได้แก่ สำเนาบัตรประชาชนหรือบัตรข้าราชการ,
สำเนาทะเบียนบ้าน, สำเนาทะเบียนสมรส (ถ้ามี) ทั้งของผู้กู้และคู่สมรส
• เอกสารทางการเงิน ได้แก่ ใบรับรองเงินเดือนหรือรายได้
หลักฐานทางการค้า เอกสารการเดินบัญชีย้อนหลัง 6 เดือน
• เอกสารหลักทรัพย์ ได้แก่ สำเนาโฉนดที่ดิน สำเนาสัญญาจะซื้อจะขาย
และแบบแปลนการก่อสร้าง (กรณีปลูกสร้าง)
ที่มา : ฐานข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ
ซื้อ ปลูกสร้าง ต่อเติม/ซ่อมแซมที่อยู่อาศัยพร้อมกับขอกู้เพื่ออุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
1. วัตถุประสงค์การกู้
เพื่อซื้อที่ดินพร้อมอาคาร หรือห้องชุด พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
เพื่อปลูกสร้างอาคาร หรือเพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคาร พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
เพื่อต่อเติม หรือขยาย หรือซ่อมแซมอาคาร พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
2. วงเงินให้กู้ตามเกณฑ์หลักประกัน
บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และบ้านแฝด
ไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาซื้อขาย
อาคารพาณิชย์
ไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาซื้อขาย
ห้องชุดราคาตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป
ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาซื้อขาย
ห้องชุดราคาต่ำกว่า 1 ล้านบาท
ไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาซื้อขาย
โดยแยกเป็น 2 บัญชี :
บัญชี 1 เพื่อที่อยู่อาศัย ไม่เกินเกณฑ์หลักประกันสินเชื่อปกติ
บัญชี 2 เพื่ออุปกรณ์ฯ วงเงินกู้เมื่อรวมกับบัญชี 1 ต้องไม่เกินเกณฑ์หลักประกันข้างต้น
3. ระยะเวลากู้
ไม่เกิน 30 ปี อายุผู้กู้รวมกับระยะเวลากู้ไม่เกิน 70 ปี
4. อัตราดอกเบี้ยเงินกู้
บัญชี 1 เพื่อที่อยู่อาศัย อัตราดอกเบี้ยตามหลักเกณฑ์ ปัจจุบัน
บัญชี 2 เพื่ออุปกรณ์ฯ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลอยตัวตลอด อายุสัญญากู้เงินเท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง MRR ตามประกาศธนาคาร
เงินกู้ซื้อที่ดินพร้อมบ้าน
1. วงเงินให้กู้
ให้กู้ในวงเงินไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และ ไม่เกิน 85% ของราคาซื้อ-ขาย
กรณีซื้ออาคารพาณิชย์ ให้กู้ได้ไม่เกิน 75% ของราคาประเมิน และไม่เกิน
75% ของราคาซื้อขาย
กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือนผู้กู้ และอีก 15 เท่าของรายได้อื่น ๆ
หรือไม่ เกิน 40 เท่าสำหรับอาชีพอิสระ (โดยประมาณ)
2. ระยะเวลาให้กู้
ระยะเวลาให้กู้สูงสุด 30 ปี
อายุของผู้กู้รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้จะต้องไม่เกิน 70 ปี
3. เอกสารประกอบการกู้
คำขอกู้เงิน
เอกสาร
หากมีผู้กู้ร่วม ขอให้ผู้กู้ร่วมมายื่นคำขอกู้พร้อมหลักฐานแสดงรายได้และเอกสาร
ส่วนตัวของแต่ละท่าน
4. ค่าใช้จ่ายในการกู้
ค่าใช้จ่าย ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
กู้ไม่เกิน 500,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 1,700 บาท
กู้ไม่เกิน 500,001 - 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,200 บาท
กู้เกิน 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,500 บาท
ค่าตรวจสอบผลงานการก่อสร้าง ต่อเติม หรือ ซ่อมแซม ครั้งละ 600 บาท
ค่าดำเนินการเพื่อขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมจำนอง
รายละ 500 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ
รายละ 600 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตปริมณฑล (หรือมากกว่านี้ตามที่ธนาคารเห็นสมควร)
ชำระในวันนัดทำนิติกรรม
ค่าใช้จ่าย ณ สำนักงานที่ดิน ในวันทำนิติกรรมจำนอง (จ่ายกับสำนักงานที่ดิน)
ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง 1% ของจำนวนเงินกู้
ธนาคารกรุงไทย
อัตราดอกเบี้ย
พิเศษ... สำหรับคุณที่ต้องการมีบ้าน เพื่อสร้างอนาคตร่วมกันให้กับทุกคนในครอบครัว ธนาคารกรุงไทยขอเสนอ
อัตราดอกเบี้ยดังนี้
-
กรณีลูกค้าทั่วไป
:
คงที่ 1 ปี 4.75 % หลังจากนั้น MLR-0.25 %
-
กรณี Project Finanace
:
คงที่ 1 ปี 4.25 % หลังจากนั้น MLR-0.25 %
สิทธิพิเศษ
- ให้กู้สินเชื่อกรุงไทยเพิ่มสุข เพื่อซื้อเครื่องอุปโภค เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการกู้ ค่าตกแต่งบ้าน หรือค่าใช้จ่ายอื่นๆ ซึ่งเมื่อรวมกับวงเงินกู้สินเชื่อกรุงไทยเคหะแล้วไม่เกิน 95% ของราคาประเมินฯ หรือราคาซื้อขายจริง
- ให้กู้สินเชื่อกรุงไทยเพิ่มสุข เพื่อชำระค่าเบี้ยประกันชีวิต (MRTA) ซึ่งเมื่อรวมกับวงเงินกู้สินเชื่อกรุงไทย
เคหะ แล้วไม่เกิน 100%
- คิดดอกเบี้ยอัตราร้อยละ MLR ทุกวงเงิน
คุณสมบัติของผู้กู้
- มีอาชีพมั่นคง หรือมีรายได้ประจำแน่นอน
- กรณี Refinance ต้องมีประวัติการผ่อนชำระดี
- อายุของผู้กู้ เมื่อรวมกับระยะเวลาในการผ่อนชำระต้องไม่เกิน 65 ปี
ประเภทบริการ
- เพื่อซื้อบ้าน, อาคารชุด, ทาวน์เฮ้าส์ หรืออาคารพาณิชย์
- เพื่อปลูกสร้างบ้าน ปรับปรุง ต่อเติมหรือซ่อมแซมที่อยู่อาศัยของตนเอง
- เพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างบ้าน หรือไถ่ถอนที่ดิน จากธนาคารหรือสถาบันการเงินอื่น พร้อมปลูกสร้างบ้าน
ในคราวเดียวกัน
- Refinance
เงื่อนไขการให้บริการ
- กรณีราคาซื้อขายไม่ถึง 10 ล้านบาท วงเงินกู้สูงสุด 90 % ของราคาประเมินหลักประกัน หรือราคาซื้อขายจริงแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ยกเว้น กรณีซื้อห้องชุดในอาคารชุดให้วงเงินกู้สูงสุด 80% ของราคาประเมินหรือราคาซื้อขายแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า
- กรณีราคาซื้อขายตั้งแต่ 10 ล้านบาท วงเงินกู้สูงสุด 70 % ของราคาซื้อขาย
- ระยะเวลาการให้กู้ 30 ปี
เอกสารประกอบการขอกู้
- สำเนาบัตรประชาชน/ บัตรข้าราชการ / ใบเปลี่ยนชื่อ - สกุล (ถ้ามี) (ผู้กู้และคู่สมรส)
- สำเนาทะเบียนบ้านทุกหน้า
- ทะเบียนสมรส / ทะเบียนหย่า (ถ้ามี)/ใบมรณะบัตร (กรณีคู่สมรสเสียชีวิต)
- สัญญาจะซื้อจะขาย และสำเนาโฉนดที่ดิน (ทุกหน้าขนาดเท่าจริง)
- สัญญาจะซื้อจะขาย, สัญญาว่าจ้าง, แบบแปลนการก่อสร้าง, ใบอนุญาตก่อสร้าง (กรณีปลูกสร้าง)
- หลักฐานแสดงรายการเดินบัญชีทุกประเภทบัญชีที่มีย้อนหลัง 6 เดือน
- ใบรับรองเงินเดือนหรือใบแสดงรายได้เดือนสุดท้าย (กรณีเป็นผู้มีรายได้ประจำ / เงินเดือน)
- ทะเบียนการค้า / หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (กรณีประกอบธุรกิจส่วนตัว)
- ใบเสร็จชำระเงินการผ่อนชำระ 3 เดือนสุดท้ายของสถาบันการเงินเดิม, สัญญากู้, สัญญาจำนองหลักทรัพย์ กรณีไถ่ถอนฯ
- ใบเสร็จรับเงินการผ่อนชำระเงินดาวน์
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่บมจ. ธนาคารกรุงไทย ทุกสาขาทั่วประเทศ
ฝ่ายบริหารผลิตภัณฑ์เพื่อที่อยู่อาศัย โทร. 0 2208 8356-8
หรือที่ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ (www.contactcenter.ktb.co.th) หรือโทร. 1551
สินเชื่อธนาคารไทยพาณิชย์
เป็นบริการสินเชื่อที่ธนาคารให้กู้ยืมแก่ลูกค้าที่มีวัตถุประสงค์เพื่อนำไปซื้อหรือ ซ่อมแซมที่อยู่อาศัย
โดยมีการผ่อนชำระคืนเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายเดือน
เท่าๆ กันทุกเดือนตามระยะเวลา อัตราดอกเบี้ย และเงื่อนไขตามที่ธนาคารกำหนด
วัตถุประสงค์ในการกู้ยืม
• การซื้อหรือสร้างบ้าน ทาวน์เฮาส์ อาคารพาณิชย์หรือสร้างบ้าน
บนที่ดินที่มีอยู่
• การซื้ออาคารชุดคอนโดมิเนียม การตกแต่ง ซ่อมแซมที่อยู่อาศัย
• ซื้อที่ดินเพิ่มเติมต่อจากที่ใช้อาศัยการซื้อที่ดินว่างเปล่าหรือสวนเกษตร
เพื่อสร้างบ้าน
ประเภทสินเชื่อที่ให้บริการ
• สินเชื่อเพื่อการเคหะในโครงการ (MORTGAGE FINANCE) ที่ธนาคาร
สนับสนุนรายละเอียดเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในแต่ละโครงการ
• สินเชื่อเพื่อการเคหะนอกโครงการที่ธนาคารสนับสนุน
เงื่อนไข/จุดเด่นบริการ
• วงเงินกู้สูงสุด 85% ของราคาประเมิน
• สามารถกู้เพิ่มอีก 10% ของราคาซื้อขายในกรณีซื้อบ้านที่ธนาคาร
สนับสนุน
• สามารถกู้เพิ่มอีก 5 % ของราคาประเมินเพื่อซื้อเครื่องอุปโภคบริโภค
เพื่ออำนวยสุขในบ้าน
• สามารถขอวงเงินกู้เพื่อชำระค่าเบี้ยประกันของ "บริการประกันสุข"
ได้แก่ กลุ่มประกันชีวิต, กลุ่มประกันสุขภาพและกลุ่มประกันทรัพย์สิน
• อัตราดอกเบี้ยเท่ากับ MLR หรืออัตราดอกเบี้ยคงที่
• ผ่อนนานถึง 30 ปี
• ทำประกันอัคคีภัย พิทักษ์ภัย ได้ตั้งแต่ 1 - 30 ปี
คุณค่าพิเศษ
• บริการประกันชีวิต "เคหะบริการ" และ "พิทักษ์สิน" คิดอัตราค่าเบี้ย
ประกันต่ำเป็นพิเศษและสามารถขอวงเงินกู้เพิ่มเติมได้
• บริการ ในกลุ่มประกันสุขได้แก่ พิทักษ์สุข, รักษ์สุข, พิทักษ์บ้าน
,พิทักษ์ภัย และพิทักษ์มะเร็ง
หลักเกณฑ์การให้บริการ
• อายุ 20 ปีขึ้นไป และอายุของผู้กู้เมื่อรวมกับจำนวนปีที่ขอกู้ไม่ควร
เกิน 60 ปี
• อาชีพ ลูกค้าจะต้องมีการงานที่มั่นคง
• รายได้ มีรายได้แน่นอน และต้องสูงกว่าอัตราผ่อนชำระในแต่ละงวด
ประมาณ 3 เท่า
หลักฐานในการขอสินเชื่อ
• เอกสารส่วนตัว ได้แก่ สำเนาบัตรประชาชนหรือบัตรข้าราชการ,
สำเนาทะเบียนบ้าน, สำเนาทะเบียนสมรส (ถ้ามี) ทั้งของผู้กู้และคู่สมรส
• เอกสารทางการเงิน ได้แก่ ใบรับรองเงินเดือนหรือรายได้
หลักฐานทางการค้า เอกสารการเดินบัญชีย้อนหลัง 6 เดือน
• เอกสารหลักทรัพย์ ได้แก่ สำเนาโฉนดที่ดิน สำเนาสัญญาจะซื้อจะขาย
และแบบแปลนการก่อสร้าง (กรณีปลูกสร้าง)
ที่มา : ฐานข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ
คำนวณวงเงินที่คุณสามารถกู้ได้ และยอดที่ต้องผ่อนชำระต่อเดือน
คำนวณวงเงินที่คุณสามารถกู้ได้ และยอดที่ต้องผ่อนชำระต่อเดือน. รายได้ขั้นต่ำต่อเดือน. บาทต่อเดือน. รายได้พิเศษอื่นๆ (ถ้ามี). บาทต่อเดือน. ระยะเวลากู้. ปี. อัตราดอกเบี้ย. % ต่อปี
Click ลิงค์
http://www.homedd.com/HomeddWeb/homedd/A_home_financing/frontweb/calculator_one.jsp
ที่มา: http://www.homedd.com
Click ลิงค์
http://www.homedd.com/HomeddWeb/homedd/A_home_financing/frontweb/calculator_one.jsp
ที่มา: http://www.homedd.com
หลักเกณฑ์การขอสินเชื่อซื้อบ้าน
ในปัจจุบันปัญหาการขอสินเชื่อซื้อบ้านไม่ผ่านเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งกำลังกลายเป็นผลกระทบทั้งผู้ปริโภคและผู้ประกอบการ โดยผู้บริโภคจะเกิดปัญหาซื้อบ้านไม่ได้หรืออาจต้องเสียเงินจองและเงินทำสัญญาไปฟรีๆ ในกรณีที่ผู้ซื้อบ้าน กู้ไม่ผ่านเนื่องจากภาวะอัตราดอกเบี้ยในช่วงก่อนหน้านี้ปรับตัวขึ้นไป 2-3% ทำให้ความสามารถในการกู้ซื้อบ้านของผู้บริโภคลดลงมาก
ในปัจจุบันดอกเบี้ยได้เริ่มปรับลดลงซึ่งในเดือนเมษายนนี้อาจจะมีข่าวดีปรับลดลงของดอกเบี้ยอีก 0.25% ก็เป็นไปได้ อย่างไรก็ตามผู้ที่กำลังคิดจะซื้อบ้านในเร็ววันนี้ ต้องมีการเตรียมพร้อมในการขอสินเชื่อไว้ล่วงหน้าด้วย เริ่มตั้งแต่การตรวจสอบเครดิตของตนเองให้ชัดเจน เพราะบางทีอาจมีหนี้สินคงค้างโดยที่ไม่รู้ตัวอาทิ ค่าโทรศัพท์ บัตรเครดิต บัตรผ่อนสินค้า
ซึ่งต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลให้เกิดปัญหาในการขอกู้ได้ รวมทั้งเตรียมความพร้อมในเครดิตของตนเองและผู้ร่วมกู้ให้ดี โดยเดินบัญชีให้มีรายรับรายจ่ายที่เหมาะสม สม่ำเสมอ และที่สำคัญคือ ใช้เป็นหลักฐานที่พิสูจน์ได้ชัดเจน การซื้อบ้านเป็นของที่แพงที่สุดในชีวิตของคนเรา ดังนั้นควรเตรียมความพร้อมให้ดีก่อนจะทำการขอสินเชื่อ
เงินกู้ซื้อที่ดินพร้อมบ้าน สำหรับผู้ที่มีความประสงค์ต้องการขอสินเชื่อซื้อบ้านต้องศึกษาข้อมูลดังต่อไปนี้
1. วงเงินให้กู้
1. ให้กู้ในวงเงินไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และ ไม่เกิน 85% ของราคาซื้อขาย
2. กรณีซื้ออาคารพาณิชย์ ให้กู้ได้ไม่เกิน 75% ของราคาประเมิน และไม่เกิน 75% ของราคาซื้อขาย
3. กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือนผู้กู้ และอีก 15 เท่าของรายได้อื่น ๆ หรือไม่ เกิน 40 เท่าสำหรับอาชีพอิสระ (โดยประมาณ)
หมายเหตุ :
กรณีหลักประกันเป็นอาคารพาณิชย์ไม่เกิน 2 คูหา ให้ใช้อัตราดอกเบี้ยลอยตัวพิเศษ ดังนี้
- กรณีกู้รายย่อย
- ปีที่ 1 เท่ากับ MRR – 1.00
- ปีที่ 2 จนถึงตลอดอายุสัญญา เท่ากับ MRR – 0.50
- กรณีใช้สิทธิสวัสดิการไม่มีเงินฝาก เท่ากับ MRR – 1.00 ตลอดอายุสัญญา ทั้งนี้ ห้ามเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ เป็นอัตราอื่นตลอดอายุสัญญากู้เงิน
- กรณีหลักประกันเป็นอาคารพาณิชย์เกิน 2 คูหา (หากเปิดทะลุถึงกันนับเป็น 1 คูหา) ให้ใช้อัตราดอกเบี้ย ดังนี้
- กรณีกู้รายย่อย เท่ากับ MLR ตลอดอายุสัญญา
- กรณีใช้สิทธิสวัสดิการไม่มีเงินฝาก เท่ากับ MRR ตลอดอายุสัญญา ทั้งนี้ ห้ามเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ เป็นอัตราอื่นตลอดอายุสัญญากู้เงิน
2. ระยะเวลาให้กู้
1. ระยะเวลาให้กู้สูงสุด 30 ปี
2. อายุของผู้กู้รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้จะต้องไม่เกิน 70 ปี
3. เอกสารประกอบการกู้
1. คำขอกู้เงิน
2. เอกสาร
3. หากมีผู้กู้ร่วม ขอให้ผู้กู้ร่วมมายื่นคำขอกู้พร้อมหลักฐานแสดงรายได้และเอกสาร ส่วนตัวของแต่ละท่าน
4. ค่าใช้จ่ายในการกู้
1. ค่าใช้จ่าย ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
- กู้ไม่เกิน 500,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 1,700 บาท
- กู้ไม่เกิน 500,001 - 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,200 บาท
- กู้เกิน 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,500 บาท
ค่าตรวจสอบผลงานการก่อสร้าง ต่อเติม หรือ ซ่อมแซม ครั้งละ 600 บาท
- ค่าดำเนินการเพื่อขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมจำนอง
รายละ 500 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ
รายละ 600 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตปริมณฑล (หรือมากกว่านี้ตามที่ธนาคารเห็นสมควร) ชำระในวันนัดทำนิติกรรม
2. ค่าใช้จ่าย ณ สำนักงานที่ดิน ในวันทำนิติกรรมจำนอง (จ่ายกับสำนักงานที่ดิน)
ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง 1% ของจำนวนเงินกู้
5. วิธีการชำระหนี้เงินกู้
1. ชำระเงินกู้งวดแรก ภายใน 30 วัน นับจากวันที่รับเงินกู้ไปจากธนาคารฯ และ2. ชำระเงินกู้งวด ต่อไปทุกเดือน จนกว่าจะชำระหนี้เสร็จสิ้น โดยมีวิธีชำระเงินกู้ดังต่อไปนี้
- ชำระเป็นเงินสดหรือเช็ค
- ชำระผ่านบัญชีเงินฝากธนาคารอาคารสงเคราะห์
- ชำระโดยวิธีการหักบัญชีเงินฝาก เงินฝากออมทรัพย์ หรือเงินฝากกระแสรายวัน ที่เปิดไว้กับ
- ธนาคารกรุงไทย -หรือ ธนาคารกรุงเทพ -หรือ ธนาคารไทยพาณิชย์ ทุกสาขาทั่วราชอาณาจักร ทั้งนี้ผู้กู้จะต้องนำเงินฝากเข้าบัญชี ก่อนวันที่ 5 ของทุกเดือน
3. ชำระผ่านจุดรับ-จ่ายเงิน (PAY-POINT) และ Pay at Post
4. ชำระผ่านเคาเตอร์ ธนาคารนครหลวงไทย และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ทั่วประเทศ
5. ชำระผ่านที่ทำการไปรษณีย์ทุกแห่งทั่วประเทศ เสียค่าธรรมเนียทรายการล่ะ 10 บาท ไม่เกินรายการล่ะ 50,000 บาท
6. ชำระผ่านเคาน์เตอร์การเงินนอกสถานที่ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ จำนวน 10 แห่ง ได้แก่ แฟชั่นไอส์แลนด์ ศูนย์การค้าฟอร์จูน อิมพีเรียล (สำโรง) ฟิวเจอร์พาร์ค (รังสิต) บิ๊กซี (แจ้งวัฒนะ บางนา) และเดอร์มอลล์ (บางกะปิ บางแค ท่าพระ งามวงศ์วาน)
7. ชำระได้ที่ศูนย์บริการครบวงจร ณ ที่ว่าการอำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองนครปฐม อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ และอำเภทเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
(กรณีชำระในกรุงเทพ เสียค่าธรรมเนียม 10 บาท ต่างจังหวัด 15 บาท)
ข้อมูลจาก http://www.ghb.co.th/
ในปัจจุบันดอกเบี้ยได้เริ่มปรับลดลงซึ่งในเดือนเมษายนนี้อาจจะมีข่าวดีปรับลดลงของดอกเบี้ยอีก 0.25% ก็เป็นไปได้ อย่างไรก็ตามผู้ที่กำลังคิดจะซื้อบ้านในเร็ววันนี้ ต้องมีการเตรียมพร้อมในการขอสินเชื่อไว้ล่วงหน้าด้วย เริ่มตั้งแต่การตรวจสอบเครดิตของตนเองให้ชัดเจน เพราะบางทีอาจมีหนี้สินคงค้างโดยที่ไม่รู้ตัวอาทิ ค่าโทรศัพท์ บัตรเครดิต บัตรผ่อนสินค้า
ซึ่งต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลให้เกิดปัญหาในการขอกู้ได้ รวมทั้งเตรียมความพร้อมในเครดิตของตนเองและผู้ร่วมกู้ให้ดี โดยเดินบัญชีให้มีรายรับรายจ่ายที่เหมาะสม สม่ำเสมอ และที่สำคัญคือ ใช้เป็นหลักฐานที่พิสูจน์ได้ชัดเจน การซื้อบ้านเป็นของที่แพงที่สุดในชีวิตของคนเรา ดังนั้นควรเตรียมความพร้อมให้ดีก่อนจะทำการขอสินเชื่อ
เงินกู้ซื้อที่ดินพร้อมบ้าน สำหรับผู้ที่มีความประสงค์ต้องการขอสินเชื่อซื้อบ้านต้องศึกษาข้อมูลดังต่อไปนี้
1. วงเงินให้กู้
1. ให้กู้ในวงเงินไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และ ไม่เกิน 85% ของราคาซื้อขาย
2. กรณีซื้ออาคารพาณิชย์ ให้กู้ได้ไม่เกิน 75% ของราคาประเมิน และไม่เกิน 75% ของราคาซื้อขาย
3. กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือนผู้กู้ และอีก 15 เท่าของรายได้อื่น ๆ หรือไม่ เกิน 40 เท่าสำหรับอาชีพอิสระ (โดยประมาณ)
หมายเหตุ :
กรณีหลักประกันเป็นอาคารพาณิชย์ไม่เกิน 2 คูหา ให้ใช้อัตราดอกเบี้ยลอยตัวพิเศษ ดังนี้
- กรณีกู้รายย่อย
- ปีที่ 1 เท่ากับ MRR – 1.00
- ปีที่ 2 จนถึงตลอดอายุสัญญา เท่ากับ MRR – 0.50
- กรณีใช้สิทธิสวัสดิการไม่มีเงินฝาก เท่ากับ MRR – 1.00 ตลอดอายุสัญญา ทั้งนี้ ห้ามเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ เป็นอัตราอื่นตลอดอายุสัญญากู้เงิน
- กรณีหลักประกันเป็นอาคารพาณิชย์เกิน 2 คูหา (หากเปิดทะลุถึงกันนับเป็น 1 คูหา) ให้ใช้อัตราดอกเบี้ย ดังนี้
- กรณีกู้รายย่อย เท่ากับ MLR ตลอดอายุสัญญา
- กรณีใช้สิทธิสวัสดิการไม่มีเงินฝาก เท่ากับ MRR ตลอดอายุสัญญา ทั้งนี้ ห้ามเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ เป็นอัตราอื่นตลอดอายุสัญญากู้เงิน
2. ระยะเวลาให้กู้
1. ระยะเวลาให้กู้สูงสุด 30 ปี
2. อายุของผู้กู้รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้จะต้องไม่เกิน 70 ปี
3. เอกสารประกอบการกู้
1. คำขอกู้เงิน
2. เอกสาร
3. หากมีผู้กู้ร่วม ขอให้ผู้กู้ร่วมมายื่นคำขอกู้พร้อมหลักฐานแสดงรายได้และเอกสาร ส่วนตัวของแต่ละท่าน
4. ค่าใช้จ่ายในการกู้
1. ค่าใช้จ่าย ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
- กู้ไม่เกิน 500,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 1,700 บาท
- กู้ไม่เกิน 500,001 - 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,200 บาท
- กู้เกิน 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,500 บาท
ค่าตรวจสอบผลงานการก่อสร้าง ต่อเติม หรือ ซ่อมแซม ครั้งละ 600 บาท
- ค่าดำเนินการเพื่อขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมจำนอง
รายละ 500 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ
รายละ 600 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตปริมณฑล (หรือมากกว่านี้ตามที่ธนาคารเห็นสมควร) ชำระในวันนัดทำนิติกรรม
2. ค่าใช้จ่าย ณ สำนักงานที่ดิน ในวันทำนิติกรรมจำนอง (จ่ายกับสำนักงานที่ดิน)
ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง 1% ของจำนวนเงินกู้
5. วิธีการชำระหนี้เงินกู้
1. ชำระเงินกู้งวดแรก ภายใน 30 วัน นับจากวันที่รับเงินกู้ไปจากธนาคารฯ และ2. ชำระเงินกู้งวด ต่อไปทุกเดือน จนกว่าจะชำระหนี้เสร็จสิ้น โดยมีวิธีชำระเงินกู้ดังต่อไปนี้
- ชำระเป็นเงินสดหรือเช็ค
- ชำระผ่านบัญชีเงินฝากธนาคารอาคารสงเคราะห์
- ชำระโดยวิธีการหักบัญชีเงินฝาก เงินฝากออมทรัพย์ หรือเงินฝากกระแสรายวัน ที่เปิดไว้กับ
- ธนาคารกรุงไทย -หรือ ธนาคารกรุงเทพ -หรือ ธนาคารไทยพาณิชย์ ทุกสาขาทั่วราชอาณาจักร ทั้งนี้ผู้กู้จะต้องนำเงินฝากเข้าบัญชี ก่อนวันที่ 5 ของทุกเดือน
3. ชำระผ่านจุดรับ-จ่ายเงิน (PAY-POINT) และ Pay at Post
4. ชำระผ่านเคาเตอร์ ธนาคารนครหลวงไทย และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ทั่วประเทศ
5. ชำระผ่านที่ทำการไปรษณีย์ทุกแห่งทั่วประเทศ เสียค่าธรรมเนียทรายการล่ะ 10 บาท ไม่เกินรายการล่ะ 50,000 บาท
6. ชำระผ่านเคาน์เตอร์การเงินนอกสถานที่ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ จำนวน 10 แห่ง ได้แก่ แฟชั่นไอส์แลนด์ ศูนย์การค้าฟอร์จูน อิมพีเรียล (สำโรง) ฟิวเจอร์พาร์ค (รังสิต) บิ๊กซี (แจ้งวัฒนะ บางนา) และเดอร์มอลล์ (บางกะปิ บางแค ท่าพระ งามวงศ์วาน)
7. ชำระได้ที่ศูนย์บริการครบวงจร ณ ที่ว่าการอำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองนครปฐม อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ และอำเภทเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
(กรณีชำระในกรุงเทพ เสียค่าธรรมเนียม 10 บาท ต่างจังหวัด 15 บาท)
ข้อมูลจาก http://www.ghb.co.th/
จะกู้ซื้อบ้านได้สูงสุดเท่าไหร่
สำหรับคนที่กำลังสนใจจะซื้อบ้าน แต่ไม่ได้มีเงินใส่โอ่งฝังไว้หลังบ้าน ให้ขุดขึ้นมาโอนสดได้ ก็ต้องยอมเสียดอกเบี้ยเป็นค่ากู้เงินเขามาใช้ ส่วนคำถามที่เกิดขึ้นตามมากับทุกคนก็คือ
คำตอบแรก ต้องตอบว่าโดยปกติสัดส่วนการขอสินเชื่อบ้านจะอยู่ที่ดาวน์ 20% และกู้หรือขอสินเชื่อรายย่อยจากสถาบันการเงินได้ 80% แต่ถ้าเป็นสถานการณ์ที่เงินล้นธนาคาร ก็อาจเพิ่มสัดส่วนให้เป็นดาวน์ 10% และกู้ 90% ขึ้นอยู่กับสถานการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจในเวลานั้นด้วย
อย่างไรก็ตาม เปอร์เซ็นต์นี้จะคิดจากราคาประเมินโครงการของธนาคาร ซึ่งส่วนใหญ่มักจะต่ำกว่าราคาที่ผู้ขายกำหนดนิดหน่อย นอกจากนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้มีการกำหนดอัตราเงินกู้ที่อยู่อาศัยไว้อยู่แล้วด้วย เช่น บ้านราคา 10 ล้านบาทขึ้นไป ต้องใช้สัดส่วนดาวน์ 30% และขอสินเชื่อ 70% เป็นต้น
คำตอบที่สอง คือ ต้องถามผู้ซื้อเองว่ามีฐานะทางการเงินเป็นอย่างไร เพราะถ้ารายได้ดีก็ขอสินเชื่อรายย่อยได้เต็มวงเงินที่ขอหรือสูงสุดของที่ธนาคารจะอนุมัติสำหรับที่อยู่อาศัยนั้น แต่ถ้ารายได้ของผู้กู้ไม่ถึง แบงก์ก็จะปล่อยกู้ตามที่เห็นสมควรโดยอ้างอิงจากเอกสารแสดงฐานะทางการเงินที่ลูกค้ายื่นไปให้พิจารณา
การคำนวณความสามารถของผู้ซื้อว่าจะขอสินเชื่อรายย่อยได้วงเงินสูงสุดเท่าไร รวมถึงระยะเวลายาวนานที่สุดที่จะขอกู้นั้น ธนาคารจะมีสูตรสำเร็จในการคำนวณอยู่ เริ่มจากคำนวณรายได้รวมต่อเดือน ถ้ามีคู่สมรสหรือผู้กู้ร่วมก็ให้คิดรวมทั้งหมด เช่น ออกมาได้เท่ากับ 120,000 บาทต่อเดือน ให้นำตัวเลขนั้นไปหาร 3 เหลือ 40,000 บาท
จากนั้นก็ดูว่าจะกู้ได้นานที่สุดกี่ปี แต่ละธนาคารอาจมีความยืดหยุ่นแตกต่างกัน เช่น พนักงานบริษัทมีรายได้หลักเป็นเงินเดือนประจำจะให้กู้สูงสุดถึงอายุ 60 ปี ถ้าเป็นเจ้าของธุรกิจอาจให้กู้สูงสุดได้ถึงอายุ 65 ปีซึ่งเอกสารแสดงรายได้ก็จะแตกต่างกัน แต่ส่วนใหญ่แล้วก็จะจำกัดที่อายุ 60 ปีนั่นเอง
ตัวอย่างเช่น ผู้จะขอกู้เป็นพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง ปัจจุบันมีอายุ 27 ปี ก็คือกู้ได้สูงสุด 33 ปี ธนาคารจะตัดที่ 30 ปี จึงหมายความว่าคนอายุยิ่งมาก ระยะเวลาที่จะเหลือกู้ได้ยาวนานก็ยิ่งลดน้อยลง และผู้ขอกู้อายุยังน้อยรายนี้ยังสามารถเลือกที่จะขอกู้ในระยะเวลาที่น้อยกว่า 30 ปีก็ได้
จากนั้นธนาคารจะมีตัวเลขคงที่กำหนดไว้สำหรับอายุแต่ละช่วงปี เช่น กู้ได้ 30 ปี ก็ให้หารด้วยตัวเลขที่กำหนดไว้สำหรับการกู้ 30 ปี คือ 7,200 ได้ตัวเลขออกมาเป็นเท่าไร นั่นคือหลักล้านบาทที่จะสามารถกู้ได้ กรณีนี้เอา 40,000 บาทหารด้วย 7,200 ออกมาเท่ากับ 5.56 ก็คือ 5,560,000 บาท เป็นวงเงินสูงสุดที่จะสามารถกู้ได้อ้างอิงจากฐานรายได้ของผู้ยื่นกู้รายนี้
เมื่อได้วงเงินที่ธนาคารอนุมัติแล้ว ลูกค้ามักจะถามต่อว่าแล้วเดือนหนึ่งจะมีภาระค่างวดเท่าไร ตัวเลขจะออกมาเป็นกี่บาทกี่สตางค์ ซึ่งธนาคารจะมีตัวเลขกำหนดไว้สำหรับการคำนวณอยู่เช่นกัน
ตัวอย่างเช่น ดอกเบี้ยปีแรกที่ธนาคารอนุมัติคือ 4.25% กู้เต็มที่ 30 ปี ก็คูณด้วยตัวเลข 0.0049193 ได้อัตราผ่อนต่อเดือนคือ 27,351 บาทโดยประมาณ ทั้งนี้ เพราะในทางปฏิบัติถึงเวลาผ่อนชำระจริงๆ ตัวเลขที่แบงก์คิดค่างวดออกมามักจะบวกมาเกินกว่านั้นนิดหน่อย เพราะธนาคารต้องประกันความเสี่ยงให้กับตัวเองด้วย แต่ไม่ได้หมายความว่ารวมแล้วลูกค้าจะต้องจ่ายแพงกว่าที่ตกลงกัน เพราะถึงเวลาจริงๆ ยื่นกู้ไว้ 30 ปี ผ่อนจริงๆ 25-27 ปีก็อาจจะหมดหนี้เป็นไทแล้วก็ได้
ตัวอย่างทั้งหมดนี้เป็นการคำนวณจากฐานรายได้แต่ละเดือนเท่านั้น ซึ่งจริงๆ แล้วในการพิจารณาขอสินเชื่อรายย่อย แบงก์ก็อาจพิจารณาเพิ่มเติมจากองค์ประกอบอื่นด้วย ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งคะแนนบวกหรือลบ เช่น หนี้สินเดิม ทรัพย์สินซึ่งถ้าเป็นทรัพย์สินที่ยังไม่ปลอดภาระก็กลายเป็นคะแนนลบ แต่ถ้าปลอดภาระแล้วก็กลายเป็นบวก แต่สิ่งสำคัญที่สุดคือเงินออม ยิ่งมีมากก็ยิ่งดี
ที่มา : หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
คำตอบแรก ต้องตอบว่าโดยปกติสัดส่วนการขอสินเชื่อบ้านจะอยู่ที่ดาวน์ 20% และกู้หรือขอสินเชื่อรายย่อยจากสถาบันการเงินได้ 80% แต่ถ้าเป็นสถานการณ์ที่เงินล้นธนาคาร ก็อาจเพิ่มสัดส่วนให้เป็นดาวน์ 10% และกู้ 90% ขึ้นอยู่กับสถานการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจในเวลานั้นด้วย
อย่างไรก็ตาม เปอร์เซ็นต์นี้จะคิดจากราคาประเมินโครงการของธนาคาร ซึ่งส่วนใหญ่มักจะต่ำกว่าราคาที่ผู้ขายกำหนดนิดหน่อย นอกจากนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้มีการกำหนดอัตราเงินกู้ที่อยู่อาศัยไว้อยู่แล้วด้วย เช่น บ้านราคา 10 ล้านบาทขึ้นไป ต้องใช้สัดส่วนดาวน์ 30% และขอสินเชื่อ 70% เป็นต้น
คำตอบที่สอง คือ ต้องถามผู้ซื้อเองว่ามีฐานะทางการเงินเป็นอย่างไร เพราะถ้ารายได้ดีก็ขอสินเชื่อรายย่อยได้เต็มวงเงินที่ขอหรือสูงสุดของที่ธนาคารจะอนุมัติสำหรับที่อยู่อาศัยนั้น แต่ถ้ารายได้ของผู้กู้ไม่ถึง แบงก์ก็จะปล่อยกู้ตามที่เห็นสมควรโดยอ้างอิงจากเอกสารแสดงฐานะทางการเงินที่ลูกค้ายื่นไปให้พิจารณา
การคำนวณความสามารถของผู้ซื้อว่าจะขอสินเชื่อรายย่อยได้วงเงินสูงสุดเท่าไร รวมถึงระยะเวลายาวนานที่สุดที่จะขอกู้นั้น ธนาคารจะมีสูตรสำเร็จในการคำนวณอยู่ เริ่มจากคำนวณรายได้รวมต่อเดือน ถ้ามีคู่สมรสหรือผู้กู้ร่วมก็ให้คิดรวมทั้งหมด เช่น ออกมาได้เท่ากับ 120,000 บาทต่อเดือน ให้นำตัวเลขนั้นไปหาร 3 เหลือ 40,000 บาท
จากนั้นก็ดูว่าจะกู้ได้นานที่สุดกี่ปี แต่ละธนาคารอาจมีความยืดหยุ่นแตกต่างกัน เช่น พนักงานบริษัทมีรายได้หลักเป็นเงินเดือนประจำจะให้กู้สูงสุดถึงอายุ 60 ปี ถ้าเป็นเจ้าของธุรกิจอาจให้กู้สูงสุดได้ถึงอายุ 65 ปีซึ่งเอกสารแสดงรายได้ก็จะแตกต่างกัน แต่ส่วนใหญ่แล้วก็จะจำกัดที่อายุ 60 ปีนั่นเอง
ตัวอย่างเช่น ผู้จะขอกู้เป็นพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง ปัจจุบันมีอายุ 27 ปี ก็คือกู้ได้สูงสุด 33 ปี ธนาคารจะตัดที่ 30 ปี จึงหมายความว่าคนอายุยิ่งมาก ระยะเวลาที่จะเหลือกู้ได้ยาวนานก็ยิ่งลดน้อยลง และผู้ขอกู้อายุยังน้อยรายนี้ยังสามารถเลือกที่จะขอกู้ในระยะเวลาที่น้อยกว่า 30 ปีก็ได้
จากนั้นธนาคารจะมีตัวเลขคงที่กำหนดไว้สำหรับอายุแต่ละช่วงปี เช่น กู้ได้ 30 ปี ก็ให้หารด้วยตัวเลขที่กำหนดไว้สำหรับการกู้ 30 ปี คือ 7,200 ได้ตัวเลขออกมาเป็นเท่าไร นั่นคือหลักล้านบาทที่จะสามารถกู้ได้ กรณีนี้เอา 40,000 บาทหารด้วย 7,200 ออกมาเท่ากับ 5.56 ก็คือ 5,560,000 บาท เป็นวงเงินสูงสุดที่จะสามารถกู้ได้อ้างอิงจากฐานรายได้ของผู้ยื่นกู้รายนี้
เมื่อได้วงเงินที่ธนาคารอนุมัติแล้ว ลูกค้ามักจะถามต่อว่าแล้วเดือนหนึ่งจะมีภาระค่างวดเท่าไร ตัวเลขจะออกมาเป็นกี่บาทกี่สตางค์ ซึ่งธนาคารจะมีตัวเลขกำหนดไว้สำหรับการคำนวณอยู่เช่นกัน
ตัวอย่างเช่น ดอกเบี้ยปีแรกที่ธนาคารอนุมัติคือ 4.25% กู้เต็มที่ 30 ปี ก็คูณด้วยตัวเลข 0.0049193 ได้อัตราผ่อนต่อเดือนคือ 27,351 บาทโดยประมาณ ทั้งนี้ เพราะในทางปฏิบัติถึงเวลาผ่อนชำระจริงๆ ตัวเลขที่แบงก์คิดค่างวดออกมามักจะบวกมาเกินกว่านั้นนิดหน่อย เพราะธนาคารต้องประกันความเสี่ยงให้กับตัวเองด้วย แต่ไม่ได้หมายความว่ารวมแล้วลูกค้าจะต้องจ่ายแพงกว่าที่ตกลงกัน เพราะถึงเวลาจริงๆ ยื่นกู้ไว้ 30 ปี ผ่อนจริงๆ 25-27 ปีก็อาจจะหมดหนี้เป็นไทแล้วก็ได้
ตัวอย่างทั้งหมดนี้เป็นการคำนวณจากฐานรายได้แต่ละเดือนเท่านั้น ซึ่งจริงๆ แล้วในการพิจารณาขอสินเชื่อรายย่อย แบงก์ก็อาจพิจารณาเพิ่มเติมจากองค์ประกอบอื่นด้วย ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งคะแนนบวกหรือลบ เช่น หนี้สินเดิม ทรัพย์สินซึ่งถ้าเป็นทรัพย์สินที่ยังไม่ปลอดภาระก็กลายเป็นคะแนนลบ แต่ถ้าปลอดภาระแล้วก็กลายเป็นบวก แต่สิ่งสำคัญที่สุดคือเงินออม ยิ่งมีมากก็ยิ่งดี
ที่มา : หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
กู้เงินซื้อบ้านจะกู้กับธนาคารไหนดี?
ในปัจจุบัน เงินกู้ที่อยู่อาศัยของสถาบันการเงินต่างๆจะแตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น โดยอัตราดอกเบี้ยลอยตัว มีตั้งแต่ 4.50-5.25% และอัตรา ดอกเบี้ยคงที่ 2 ปี ประมาณ 3.50-3.75% ประเด็นคำถามมีว่าอัตราดอกเบี้ยห่างกันเพียง 1-2% จะมีความหมายหรือไม่ จะช่วยให้ ผู้กู้ประหยัดเงินได้มากน้อยเพียงใด อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ นับว่ามีผลกระทบโดยตรงต่อเงินงวดหรือค่าผ่อนชำระต่อเดือนอย่างมาก
ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ห่างกันเพียง 1-2% ก็นับว่ามีความหมายมากทีเดียว เพราะจะทำให้ผู้ผ่อนมีภาระเพิ่มขึ้น หรือเบาแรงค่าผ่อนชำระได้ไม่ใช่น้อย การหาสินเชื่อหรือแหล่งเงินกู้ ผู้กู้จึงควรจะต้องหาจากสถาบันการเงินที่มีดอกเบี้ยต่ำที่สุดเพื่อ ประหยัดค่าผ่อนชำระ เว้นแต่ผู้กู้จะเห็นว่าเงินงวดที่แตกต่างกันน้อยเกินไปเมื่อเทียบกับความ สะดวกหรือความพอใจจากการได้รับบริการ ที่ดีด้านอื่นๆของธนาคาร เช่นวัตถุประสงค์ของการให้กู้ เพื่อที่อยู่อาศัย ความมั่นคง อย่างไรก็ตาม นอกจากดูเรื่องอัตราดอกเบี้ยแล้ว ผู้กู้ต้องดูค่าใช้จ่ายอื่นๆ จากการกู้ เช่น ค่าธรรมเนียมการประเมิน ค่าธรรมเนียมการยื่นกู้ เป็นต้น
อัตราดอกเบี้ย
ธ.กรุงเทพ จำกัด (มหาชน) สินเชื่อบ้านบัวหลวง 4.50 %
ธ.กรุงไทย จำกัด (มหาชน) สินเชื่อกรุงไทยเคหะทรัพย์ทวี 4.25%
ธ.กรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สินเชื่อเคหะอัตราดอกเบี้ยพิเศษ 7.75%
ธ.กสิกรไทย จำกัด (มหาชน) สินเชื่อบ้านกสิกรไทย 4.00%
ธ.จีอี มันนี่ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) สินเชื่อบ้านอัตราดอกเบี้ยคงที่ 4 แบบ 4.75%
ธ.ทหารไทย จำกัด (มหาชน) สินเชื่อบ้านผ่อนสบาย 5.75%
ธ.ทิสโก้ จำกัด (มหาชน) สินเชื่อเพื่อซื้อบ้าน 8.25%
ธ.ไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน) สินเชื่อบ้านอัตราดอกเบี้ยลอยตัวพิเศษ 5.00%
ธ.ไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สินเชื่อเพื่อการเคหะ 4.25%
ธ.ธนชาต จำกัด (มหาชน) สินเชื่อที่ซื้อบ้าน Smart Home Floating 8.00%
ธ.นครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) สินเชื่อเคหะนครหลวงไทย 7.75%
ธ.ยูโอบี จำกัด (มหาชน) สินเชื่อบ้าน UOB Home Loan 2.99%
ธ.แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์เพื่อรายย่อย สินเชื่อเคหะ 6.50%
ธ.ออมสิน สินเชื่อเคหะดอกเบี้ยคงที่ 2 ปีแรก 5.50%
ธ.อาคารสงเคราะห์ สินเชื่อที่อยู่อาศัยอัตราดอกเบี้ยคงที่-ลอยตัว 6.25%
บจ.อเมริกันอินเตอร์แนชั่นแนลแอสชัวรันส์ สินเชื่อเคหะ AIA Housing Loan 6.25%
ลิงค์ http://www.starlandproperty.com/index.php?lay=show&ac=article&Ntype=48
ที่มา: www.starlandproperty.com
ที่มา: ธ.อาคารสงเคราะห์
ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ห่างกันเพียง 1-2% ก็นับว่ามีความหมายมากทีเดียว เพราะจะทำให้ผู้ผ่อนมีภาระเพิ่มขึ้น หรือเบาแรงค่าผ่อนชำระได้ไม่ใช่น้อย การหาสินเชื่อหรือแหล่งเงินกู้ ผู้กู้จึงควรจะต้องหาจากสถาบันการเงินที่มีดอกเบี้ยต่ำที่สุดเพื่อ ประหยัดค่าผ่อนชำระ เว้นแต่ผู้กู้จะเห็นว่าเงินงวดที่แตกต่างกันน้อยเกินไปเมื่อเทียบกับความ สะดวกหรือความพอใจจากการได้รับบริการ ที่ดีด้านอื่นๆของธนาคาร เช่นวัตถุประสงค์ของการให้กู้ เพื่อที่อยู่อาศัย ความมั่นคง อย่างไรก็ตาม นอกจากดูเรื่องอัตราดอกเบี้ยแล้ว ผู้กู้ต้องดูค่าใช้จ่ายอื่นๆ จากการกู้ เช่น ค่าธรรมเนียมการประเมิน ค่าธรรมเนียมการยื่นกู้ เป็นต้น
อัตราดอกเบี้ย
ธ.กรุงเทพ จำกัด (มหาชน) สินเชื่อบ้านบัวหลวง 4.50 %
ธ.กรุงไทย จำกัด (มหาชน) สินเชื่อกรุงไทยเคหะทรัพย์ทวี 4.25%
ธ.กรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) สินเชื่อเคหะอัตราดอกเบี้ยพิเศษ 7.75%
ธ.กสิกรไทย จำกัด (มหาชน) สินเชื่อบ้านกสิกรไทย 4.00%
ธ.จีอี มันนี่ เพื่อรายย่อย จำกัด (มหาชน) สินเชื่อบ้านอัตราดอกเบี้ยคงที่ 4 แบบ 4.75%
ธ.ทหารไทย จำกัด (มหาชน) สินเชื่อบ้านผ่อนสบาย 5.75%
ธ.ทิสโก้ จำกัด (มหาชน) สินเชื่อเพื่อซื้อบ้าน 8.25%
ธ.ไทยธนาคาร จำกัด (มหาชน) สินเชื่อบ้านอัตราดอกเบี้ยลอยตัวพิเศษ 5.00%
ธ.ไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) สินเชื่อเพื่อการเคหะ 4.25%
ธ.ธนชาต จำกัด (มหาชน) สินเชื่อที่ซื้อบ้าน Smart Home Floating 8.00%
ธ.นครหลวงไทย จำกัด (มหาชน) สินเชื่อเคหะนครหลวงไทย 7.75%
ธ.ยูโอบี จำกัด (มหาชน) สินเชื่อบ้าน UOB Home Loan 2.99%
ธ.แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์เพื่อรายย่อย สินเชื่อเคหะ 6.50%
ธ.ออมสิน สินเชื่อเคหะดอกเบี้ยคงที่ 2 ปีแรก 5.50%
ธ.อาคารสงเคราะห์ สินเชื่อที่อยู่อาศัยอัตราดอกเบี้ยคงที่-ลอยตัว 6.25%
บจ.อเมริกันอินเตอร์แนชั่นแนลแอสชัวรันส์ สินเชื่อเคหะ AIA Housing Loan 6.25%
ลิงค์ http://www.starlandproperty.com/index.php?lay=show&ac=article&Ntype=48
ที่มา: www.starlandproperty.com
ที่มา: ธ.อาคารสงเคราะห์
ธนาคารที่ให้สินเชื่อสร้างบ้าน
รายชื่อ ที่อยู่ Website สถาบันการเงิน ขอสินเชือบ้าน
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/WebsiteFI/_layouts/application/bot%20financial%20institutions/financialinstitutions.aspx
http://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/WebsiteFI/_layouts/application/bot%20financial%20institutions/financialinstitutions.aspx
ราคาประเมินค่าก่อสร้างบ้าน
ราคาประเมินค่าก่อสร้างอาคาร พ.ศ.2554
สมาคมผู้ประเมินค่าทรัพย์สินแห่งประเทศไทย
ดาวโหลด ราคาประเมินค่าก่อสร้างอาคาร พ.ศ.2554 คลิกที่นี่
สมาคมผู้ประเมินค่าทรัพย์สินแห่งประเทศไทย
ดาวโหลด ราคาประเมินค่าก่อสร้างอาคาร พ.ศ.2554 คลิกที่นี่
ราคาวัสดุก่อสร้าง
ราคาวัสดุก่อสร้าง กรุงเทพมหานคร (ราคาเงินสด ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม ไม่รวมค่าขนส่ง) ปี 2554
clik เช็คราคา วัสดุก่อสร้าง
clik เช็คราคา วัสดุก่อสร้าง
ขอใช้ไฟฟ้าบ้านสร้างใหม่
กรณีการขอใช้ไฟฟ้าใหม่ | ||||
ท่านสามารถตรวจสอบว่าสถานที่ขอใช้ไฟฟ้าอยู่ในพื้นที่บริการของการไฟฟ้านครหลวงเขตหรือสาขาย่อยใด โดยสังเกตจากแผ่นป้ายโลหะเคลือบพื้นสีน้ำเงิน ที่มีตัวอักษรและตัวเลขสีขาว ซึ่งติดไว้ประจำเครื่องวัดฯบนเสาไฟฟ้าที่อยู่ใกล้เคียง | ||||
กรณีขอเปลี่ยนแปลงการใช้ไฟฟ้าและบริการอื่น ๆ | ||||
สามารถตรวจสอบพื้นที่บริการของการไฟฟ้านครหลวงเขตหรือสาขาย่อย จากตัวอักษรหน้าหมายเลขเครื่องวัด ฯ ของท่านที่ปรากฎในใบเสร็จรับเงินค่าไฟฟ้า | ||||
หลักเกณฑ์หรือเงื่อนไข | ||||
1. มีเสา-สายไฟแรงต่ำผ่าน ไม่มีการปักเสาพาดสายเพิ่มหรือเปลี่ยนหม้อแปลง 2. ผู้ขอใช้ไฟฟ้าชำระค่าใช้จ่ายพร้อมหลักประกันในวันยื่นเรื่องขอใช้ไฟฟ้า 3. สถานที่ที่ขอใช้ไฟฟ้า ไม่มีหนี้ค่าไฟฟ้าและ/หรือหนี้ค้างชำระอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการใช้ไฟฟ้า 4. การเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในสถานที่ใช้ไฟฟ้า ถูกต้อง ตามมาตรฐานการไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้านครหลวง click ลิงค์ http://www.mea.or.th/s-menu05.cfm.htm |
ราคา ค่าแรงงานปลูกสร้างบ้าน2555
บัญชีค่าแรงงานที่ใช้ประกอบการถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคาร (ให้ใช้บัญชี ค่าแรงงานนี้ตั้งแต่ 2555เป็นต้นไป) DOWNLOAD (บัญชีค่าแรงงานฯ ทั้งหมด)
ตรวจสอบราคาประเมินกรมที่ดิน
เราสามารถตรวจสอบราคาประเมินจากกรมธนารักษ์ ตามเลขที่โฉนด เลขที่ดิน
http://landprice.treasury.go.th/
คำแนะนำ การค้นหา
การค้นหาราคาประเมินจากเลขที่โฉนด
http://landprice.treasury.go.th/
คำแนะนำ การค้นหา
เลือกอำเภอที่ต้องการ | |
การค้นหาราคาประเมินจากเลขที่ดิน | |
ให้กรอกเลขระวางที่อยู่ในวงกลมสีแดง ลงในช่องระวาง เช่น " 5036II5420-7 " | |
ถ้าหากค้นหาด้วยเลขที่โฉนดและเลขที่ดินไม่พบราคาประเมิน ให้ติดต่อที่สำนักงานที่ดินที่รับผิดชอบ |
โครงการบ้าน ธอส.-กบข. เพื่อที่อยู่อาศัยข้าราชการ
คุณสมบัติของผู้กู้
เป็นข้าราชการที่ยังรับราชการอยู่ และเป็นสมาชิก กบข. เท่านั้น
เป็นการขอสินเชื่อใหม่ ตามวัตถุประสงค์ดังนี้
เพื่อซื้อที่ดินพร้อมอาคาร หรือห้องชุด
เพื่อปลูกสร้างอาคาร หรือเพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคาร
เพื่อต่อเติม หรือขยาย หรือซ่อมแซมอาคาร
เพื่อซื้อที่ดินเปล่าที่เป็นทรัพย์ (NPA) ของ ธอส.
เพื่อไถ่ถอนจำนองที่ดินพร้อมอาคาร หรือห้องชุด จากสถาบันการเงินอื่น
เพื่อไถ่ถอนจำนองที่ดินพร้อมอาคารจากสถาบันการเงินอื่น และปลูกสร้าง หรือต่อเติม/ขยาย/ซ่อมแซมอาคาร
เพื่อไถ่ถอนจำนองที่ดินเปล่าจากสถาบันการเงินอื่น พร้อมปลูกสร้างอาคาร
เพื่อชำระหนี้เกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
เพื่อซื้ออุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกที่เกี่ยวเนื่องเพื่อประโยชน์ในการอยู่อาศัย
หมายเหตุ : การขอกู้ตามวัตถุประสงค์ ข้อ 1–9 จะต้องเป็นไปเพื่อกรรมสิทธิ์ของตนเองและหรือคู่สมรส (จดทะเบียน) และกรณีขอกู้เพื่อไถ่ถอนจำนองผู้กู้ต้องมีประวัติเป็นลูกหนี้ที่ดีกับสถาบันการเงินเดิม และกรณีเป็น ลูกหนี้เดิมของธนาคารไม่ให้ใช้สิทธิโครงการนี้ ลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ในบัญชีเงินกู้ที่มีอยู่กับธนาคารแล้ว
วงเงินให้กู้
ไม่เกินร้อยละ 110 ของราคาประเมินราคาที่ดินพร้อมอาคาร หรืออาคาร หรือห้องชุด ตามวัตถุประสงค์การขอกู้เงินแต่ละประเภท และไม่เกินร้อยละ 100 ของราคาซื้อขายหรือราคาค่าก่อสร้าง แล้วแต่ว่าราคาใดต่ำกว่า
ไม่เกิน 65 เท่าของเงินเดือน เงินผ่อนชำระเป็นอัตราคงที่ตามสัญญากู้ โดยเงินงวดไม่เกินร้อยละ 80 ของเงินเดือนสุทธิ
ระยะเวลาการกู้
ไม่เกิน 30 ปี และอายุผู้กู้ (ผู้มีคุณสมบัติตามโครงการ) รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้ต้องไม่เกิน 75 ปี หรือจนเกษียณ อายุราชการ แล้วแต่ระยะเวลาใดยาวกว่า
หลักประกันในการขอกู้เงิน
เป็นโฉนดที่ดิน หรือ น.ส.3 ก. หรือ หนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ห้องชุด
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้
ปีที่1 เดือนที่ 1-6 = 0.00% ต่อปี**
เดือนที่ 7-24 = MRR-2.00% ต่อปี
ตั้งแต่ปีที่ 3 จนถึงตลอดจนครบอายุสัญญา = MRR-1.00% ต่อปี
- กรณีกู้ซื้อ ปลูกสร้าง = MRR-1.00% ต่อปี
- กรณีกู้เพื่อชำระหนี้และหรือซื้ออุปกรณ์ฯ = MRR ต่อปี
หมายเหตุ
ณ ตุลาคม 2554 MRR = 7.25% ต่อปี และอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามประกาศอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของ ธอส.
** ลูกค้าจะได้รับสิทธิอัตราดอกเบี้ยเงินกู้พิเศษปีแรก เดือนที่ 1 ถึง เดือนที่ 6 ในอัตราดอกเบี้ย 0.00% ต่อปีทันที และหากลูกค้ามีประวัติการผ่อนชำระเงินงวดทุกเดือนสม่ำเสมอดีตามสัญญากู้เงินหรือบันทึกต่อท้ายสัญญากู้เงินจนตรบ 24 เดือน ธนาคารจะให้สิทธิพิเศษอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ 0.00% เพิ่มอีก 1 เดือน ทั้งนี้ การให้สิทธิพิเศษดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขที่ธนาคารกำหนดและลูกค้าต้องมีคุณสมบัติอื่นๆ ตามที่ธนาคารกำหนดด้วย
อัตราดอกเบี้ยนี้มีผลบังคับใช้ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 และจะต้องทำนิติกรรมภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2554 เท่านั้น มิฉะนั้น จะถือว่าสละสิทธิในการกู้เงินตามโครงการ
กำหนดระยะเวลายื่นกู้และทำนิติกรรม
ติดต่อยื่นคำขอกู้เงินได้ตั้งแต่วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554 จนถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2554 และจะต้องทำนิติกรรมกับธนาคารให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 30 มีนาคม 2555 มิฉะนั้น จะถือว่าสละสิทธิในการกู้เงินตามโครงการ
สถานที่ติดต่อยื่นคำขอกู้เงิน
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สำนักพระราม 9 สำนักงานใหญ่ หรือสำนักงานสาขากรุงเทพมหานครและปริมณฑลหรือสำนักงานสาขาภูมิภาคทุกแห่ง
หลักฐานการขอกู้เงิน
หนังสือรับรองเงินเดือนจากต้นสังกัด (ตามแบบฟอร์มของธนาคาร)
สลิปเงินเดือนหรือใบแจ้งรายการเงินเดือนจากหน่วยงาน และหลักฐานแสดงฐานะทางการเงินอื่น ๆ
สำเนาบัตรประจำตัวข้าราชการ หรือบัตรประจำตัวประชาชน
สำเนาทะเบียนบ้านทุกหน้า
สำเนาทะเบียนสมรส/หย่า/มรณะบัตร แล้วแต่กรณี
สำเนาโฉนดที่ดิน หรือน.ส.3ก. หรือหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด (อช.2) ทุกหน้า
กรณีซื้อที่ดินพร้อมอาคาร ซื้อห้องชุด ซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคาร ให้แสดงสำเนาหนังสือสัญญาจะซื้อจะขาย หรือสัญญามัดจำ
กรณีปลูกสร้าง/ต่อเติม/ขยาย/ซ่อมแซมอาคาร ให้แสดงสำเนาใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร/คำขออนุญาต/แบบก่อสร้างอาคาร/ส่วนขยาย/ต่อเติมอาคาร/ซ่อมแซมอาคาร
กรณีไถ่ถอนจำนอง ให้แสดงสำเนาสัญญากู้ สัญญาจำนอง Statement/ใบเสร็จการผ่อนชำระย้อนหลัง 12 เดือน และหลักฐานแสดงการเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์บ้านพร้อมที่ดินที่นำมาเป็นหลักประกัน ได้แก่ สำเนาหนังสือสัญญาขายที่ดิน (ฉบับสำนักงานที่ดิน) หรือใบแจ้งเลขหมายประจำบ้าน หรือใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร
กรณีชำระหนี้เกี่ยวกับที่อยู่อาศัย ให้แสดงหลักฐานการเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์บ้านพร้อมที่ดินที่นำมาเป็นหลักประกัน ได้แก่ สำเนาหนังสือสัญญาขายที่ดิน (ฉบับสำนักงานที่ดิน) หรือใบแจ้งเลขหมายประจำบ้าน หรือใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร
กรณีซื้ออุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกเกี่ยวเนื่องเพื่อประโยชน์ในการอยู่อาศัย ให้แสดงใบเสร็จรับเงิน หลักฐานแสดงการซื้อหรือรายการอุปกรณ์ฯ ที่ประสงค์จะซื้อพร้อมราคาโดยประมาณ
หมายเหตุ
ลงนามรับรองสำเนาถูกต้อง ในเอกสารข้อ 3 - 11
กรณีมีผู้กู้มากกว่า 1 คน ผู้กู้ร่วมทุกคนจะต้องนำเอกสาร ตามข้อ 1 - 5 มาแสดงต่อธนาคารด้วย
ในกรณีจำเป็น ธนาคารอาจขอหลักฐานอื่น ๆ เพิ่มเติม เพื่อประกอบการพิจารณา
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ หมายเลขโทรศัพท์ 0-2645-9000
ที่มา: http://www.gpf.or.th
เป็นข้าราชการที่ยังรับราชการอยู่ และเป็นสมาชิก กบข. เท่านั้น
เป็นการขอสินเชื่อใหม่ ตามวัตถุประสงค์ดังนี้
เพื่อซื้อที่ดินพร้อมอาคาร หรือห้องชุด
เพื่อปลูกสร้างอาคาร หรือเพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคาร
เพื่อต่อเติม หรือขยาย หรือซ่อมแซมอาคาร
เพื่อซื้อที่ดินเปล่าที่เป็นทรัพย์ (NPA) ของ ธอส.
เพื่อไถ่ถอนจำนองที่ดินพร้อมอาคาร หรือห้องชุด จากสถาบันการเงินอื่น
เพื่อไถ่ถอนจำนองที่ดินพร้อมอาคารจากสถาบันการเงินอื่น และปลูกสร้าง หรือต่อเติม/ขยาย/ซ่อมแซมอาคาร
เพื่อไถ่ถอนจำนองที่ดินเปล่าจากสถาบันการเงินอื่น พร้อมปลูกสร้างอาคาร
เพื่อชำระหนี้เกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
เพื่อซื้ออุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกที่เกี่ยวเนื่องเพื่อประโยชน์ในการอยู่อาศัย
หมายเหตุ : การขอกู้ตามวัตถุประสงค์ ข้อ 1–9 จะต้องเป็นไปเพื่อกรรมสิทธิ์ของตนเองและหรือคู่สมรส (จดทะเบียน) และกรณีขอกู้เพื่อไถ่ถอนจำนองผู้กู้ต้องมีประวัติเป็นลูกหนี้ที่ดีกับสถาบันการเงินเดิม และกรณีเป็น ลูกหนี้เดิมของธนาคารไม่ให้ใช้สิทธิโครงการนี้ ลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ในบัญชีเงินกู้ที่มีอยู่กับธนาคารแล้ว
วงเงินให้กู้
ไม่เกินร้อยละ 110 ของราคาประเมินราคาที่ดินพร้อมอาคาร หรืออาคาร หรือห้องชุด ตามวัตถุประสงค์การขอกู้เงินแต่ละประเภท และไม่เกินร้อยละ 100 ของราคาซื้อขายหรือราคาค่าก่อสร้าง แล้วแต่ว่าราคาใดต่ำกว่า
ไม่เกิน 65 เท่าของเงินเดือน เงินผ่อนชำระเป็นอัตราคงที่ตามสัญญากู้ โดยเงินงวดไม่เกินร้อยละ 80 ของเงินเดือนสุทธิ
ระยะเวลาการกู้
ไม่เกิน 30 ปี และอายุผู้กู้ (ผู้มีคุณสมบัติตามโครงการ) รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้ต้องไม่เกิน 75 ปี หรือจนเกษียณ อายุราชการ แล้วแต่ระยะเวลาใดยาวกว่า
หลักประกันในการขอกู้เงิน
เป็นโฉนดที่ดิน หรือ น.ส.3 ก. หรือ หนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ห้องชุด
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้
ปีที่1 เดือนที่ 1-6 = 0.00% ต่อปี**
เดือนที่ 7-24 = MRR-2.00% ต่อปี
ตั้งแต่ปีที่ 3 จนถึงตลอดจนครบอายุสัญญา = MRR-1.00% ต่อปี
- กรณีกู้ซื้อ ปลูกสร้าง = MRR-1.00% ต่อปี
- กรณีกู้เพื่อชำระหนี้และหรือซื้ออุปกรณ์ฯ = MRR ต่อปี
หมายเหตุ
ณ ตุลาคม 2554 MRR = 7.25% ต่อปี และอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามประกาศอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของ ธอส.
** ลูกค้าจะได้รับสิทธิอัตราดอกเบี้ยเงินกู้พิเศษปีแรก เดือนที่ 1 ถึง เดือนที่ 6 ในอัตราดอกเบี้ย 0.00% ต่อปีทันที และหากลูกค้ามีประวัติการผ่อนชำระเงินงวดทุกเดือนสม่ำเสมอดีตามสัญญากู้เงินหรือบันทึกต่อท้ายสัญญากู้เงินจนตรบ 24 เดือน ธนาคารจะให้สิทธิพิเศษอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ 0.00% เพิ่มอีก 1 เดือน ทั้งนี้ การให้สิทธิพิเศษดังกล่าวเป็นไปตามเงื่อนไขที่ธนาคารกำหนดและลูกค้าต้องมีคุณสมบัติอื่นๆ ตามที่ธนาคารกำหนดด้วย
อัตราดอกเบี้ยนี้มีผลบังคับใช้ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 และจะต้องทำนิติกรรมภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2554 เท่านั้น มิฉะนั้น จะถือว่าสละสิทธิในการกู้เงินตามโครงการ
กำหนดระยะเวลายื่นกู้และทำนิติกรรม
ติดต่อยื่นคำขอกู้เงินได้ตั้งแต่วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554 จนถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2554 และจะต้องทำนิติกรรมกับธนาคารให้เสร็จสิ้นภายในวันที่ 30 มีนาคม 2555 มิฉะนั้น จะถือว่าสละสิทธิในการกู้เงินตามโครงการ
สถานที่ติดต่อยื่นคำขอกู้เงิน
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สำนักพระราม 9 สำนักงานใหญ่ หรือสำนักงานสาขากรุงเทพมหานครและปริมณฑลหรือสำนักงานสาขาภูมิภาคทุกแห่ง
หลักฐานการขอกู้เงิน
หนังสือรับรองเงินเดือนจากต้นสังกัด (ตามแบบฟอร์มของธนาคาร)
สลิปเงินเดือนหรือใบแจ้งรายการเงินเดือนจากหน่วยงาน และหลักฐานแสดงฐานะทางการเงินอื่น ๆ
สำเนาบัตรประจำตัวข้าราชการ หรือบัตรประจำตัวประชาชน
สำเนาทะเบียนบ้านทุกหน้า
สำเนาทะเบียนสมรส/หย่า/มรณะบัตร แล้วแต่กรณี
สำเนาโฉนดที่ดิน หรือน.ส.3ก. หรือหนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด (อช.2) ทุกหน้า
กรณีซื้อที่ดินพร้อมอาคาร ซื้อห้องชุด ซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคาร ให้แสดงสำเนาหนังสือสัญญาจะซื้อจะขาย หรือสัญญามัดจำ
กรณีปลูกสร้าง/ต่อเติม/ขยาย/ซ่อมแซมอาคาร ให้แสดงสำเนาใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร/คำขออนุญาต/แบบก่อสร้างอาคาร/ส่วนขยาย/ต่อเติมอาคาร/ซ่อมแซมอาคาร
กรณีไถ่ถอนจำนอง ให้แสดงสำเนาสัญญากู้ สัญญาจำนอง Statement/ใบเสร็จการผ่อนชำระย้อนหลัง 12 เดือน และหลักฐานแสดงการเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์บ้านพร้อมที่ดินที่นำมาเป็นหลักประกัน ได้แก่ สำเนาหนังสือสัญญาขายที่ดิน (ฉบับสำนักงานที่ดิน) หรือใบแจ้งเลขหมายประจำบ้าน หรือใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร
กรณีชำระหนี้เกี่ยวกับที่อยู่อาศัย ให้แสดงหลักฐานการเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์บ้านพร้อมที่ดินที่นำมาเป็นหลักประกัน ได้แก่ สำเนาหนังสือสัญญาขายที่ดิน (ฉบับสำนักงานที่ดิน) หรือใบแจ้งเลขหมายประจำบ้าน หรือใบอนุญาตก่อสร้างอาคาร
กรณีซื้ออุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกเกี่ยวเนื่องเพื่อประโยชน์ในการอยู่อาศัย ให้แสดงใบเสร็จรับเงิน หลักฐานแสดงการซื้อหรือรายการอุปกรณ์ฯ ที่ประสงค์จะซื้อพร้อมราคาโดยประมาณ
หมายเหตุ
ลงนามรับรองสำเนาถูกต้อง ในเอกสารข้อ 3 - 11
กรณีมีผู้กู้มากกว่า 1 คน ผู้กู้ร่วมทุกคนจะต้องนำเอกสาร ตามข้อ 1 - 5 มาแสดงต่อธนาคารด้วย
ในกรณีจำเป็น ธนาคารอาจขอหลักฐานอื่น ๆ เพิ่มเติม เพื่อประกอบการพิจารณา
ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ หมายเลขโทรศัพท์ 0-2645-9000
ที่มา: http://www.gpf.or.th
กู้เงินเพื่อสร้างบ้าน-ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ซื้อ ปลูกสร้าง ต่อเติม/ซ่อมแซมที่อยู่อาศัยพร้อมกับขอกู้เพื่ออุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
1. วัตถุประสงค์การกู้
เพื่อซื้อที่ดินพร้อมอาคาร หรือห้องชุด พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
เพื่อปลูกสร้างอาคาร หรือเพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคาร พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
เพื่อต่อเติม หรือขยาย หรือซ่อมแซมอาคาร พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
2. วงเงินให้กู้ตามเกณฑ์หลักประกัน
บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และบ้านแฝด
ไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาซื้อขาย
อาคารพาณิชย์
ไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาซื้อขาย
ห้องชุดราคาตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป
ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาซื้อขาย
ห้องชุดราคาต่ำกว่า 1 ล้านบาท
ไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาซื้อขาย
โดยแยกเป็น 2 บัญชี :
บัญชี 1 เพื่อที่อยู่อาศัย ไม่เกินเกณฑ์หลักประกันสินเชื่อปกติ
บัญชี 2 เพื่ออุปกรณ์ฯ วงเงินกู้เมื่อรวมกับบัญชี 1 ต้องไม่เกินเกณฑ์หลักประกันข้างต้น
3. ระยะเวลากู้
ไม่เกิน 30 ปี อายุผู้กู้รวมกับระยะเวลากู้ไม่เกิน 70 ปี
4. อัตราดอกเบี้ยเงินกู้
บัญชี 1 เพื่อที่อยู่อาศัย อัตราดอกเบี้ยตามหลักเกณฑ์ ปัจจุบัน
บัญชี 2 เพื่ออุปกรณ์ฯ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลอยตัวตลอด อายุสัญญากู้เงินเท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง MRR ตามประกาศธนาคาร
เงินกู้ซื้อที่ดินพร้อมบ้าน
1. วงเงินให้กู้
ให้กู้ในวงเงินไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และ ไม่เกิน 85% ของราคาซื้อ-ขาย
กรณีซื้ออาคารพาณิชย์ ให้กู้ได้ไม่เกิน 75% ของราคาประเมิน และไม่เกิน
75% ของราคาซื้อขาย
กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือนผู้กู้ และอีก 15 เท่าของรายได้อื่น ๆ
หรือไม่ เกิน 40 เท่าสำหรับอาชีพอิสระ (โดยประมาณ)
2. ระยะเวลาให้กู้
ระยะเวลาให้กู้สูงสุด 30 ปี
อายุของผู้กู้รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้จะต้องไม่เกิน 70 ปี
3. เอกสารประกอบการกู้
คำขอกู้เงิน
เอกสาร
หากมีผู้กู้ร่วม ขอให้ผู้กู้ร่วมมายื่นคำขอกู้พร้อมหลักฐานแสดงรายได้และเอกสาร
ส่วนตัวของแต่ละท่าน
4. ค่าใช้จ่ายในการกู้
ค่าใช้จ่าย ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
กู้ไม่เกิน 500,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 1,700 บาท
กู้ไม่เกิน 500,001 - 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,200 บาท
กู้เกิน 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,500 บาท
ค่าตรวจสอบผลงานการก่อสร้าง ต่อเติม หรือ ซ่อมแซม ครั้งละ 600 บาท
ค่าดำเนินการเพื่อขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมจำนอง
รายละ 500 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ
รายละ 600 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตปริมณฑล (หรือมากกว่านี้ตามที่ธนาคารเห็นสมควร)
ชำระในวันนัดทำนิติกรรม
ค่าใช้จ่าย ณ สำนักงานที่ดิน ในวันทำนิติกรรมจำนอง (จ่ายกับสำนักงานที่ดิน)
ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง 1% ของจำนวนเงินกู้
ซื้อ ปลูกสร้าง ต่อเติม/ซ่อมแซมที่อยู่อาศัยพร้อมกับขอกู้เพื่ออุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
1. วัตถุประสงค์การกู้
เพื่อซื้อที่ดินพร้อมอาคาร หรือห้องชุด พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
เพื่อปลูกสร้างอาคาร หรือเพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคาร พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
เพื่อต่อเติม หรือขยาย หรือซ่อมแซมอาคาร พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
2. วงเงินให้กู้ตามเกณฑ์หลักประกัน
บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และบ้านแฝด
ไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาซื้อขาย
อาคารพาณิชย์
ไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาซื้อขาย
ห้องชุดราคาตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป
ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาซื้อขาย
ห้องชุดราคาต่ำกว่า 1 ล้านบาท
ไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาซื้อขาย
โดยแยกเป็น 2 บัญชี :
บัญชี 1 เพื่อที่อยู่อาศัย ไม่เกินเกณฑ์หลักประกันสินเชื่อปกติ
บัญชี 2 เพื่ออุปกรณ์ฯ วงเงินกู้เมื่อรวมกับบัญชี 1 ต้องไม่เกินเกณฑ์หลักประกันข้างต้น
3. ระยะเวลากู้
ไม่เกิน 30 ปี อายุผู้กู้รวมกับระยะเวลากู้ไม่เกิน 70 ปี
4. อัตราดอกเบี้ยเงินกู้
บัญชี 1 เพื่อที่อยู่อาศัย อัตราดอกเบี้ยตามหลักเกณฑ์ ปัจจุบัน
บัญชี 2 เพื่ออุปกรณ์ฯ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลอยตัวตลอด อายุสัญญากู้เงินเท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง MRR ตามประกาศธนาคาร
เงินกู้ซื้อที่ดินพร้อมบ้าน
1. วงเงินให้กู้
ให้กู้ในวงเงินไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และ ไม่เกิน 85% ของราคาซื้อ-ขาย
กรณีซื้ออาคารพาณิชย์ ให้กู้ได้ไม่เกิน 75% ของราคาประเมิน และไม่เกิน
75% ของราคาซื้อขาย
กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือนผู้กู้ และอีก 15 เท่าของรายได้อื่น ๆ
หรือไม่ เกิน 40 เท่าสำหรับอาชีพอิสระ (โดยประมาณ)
2. ระยะเวลาให้กู้
ระยะเวลาให้กู้สูงสุด 30 ปี
อายุของผู้กู้รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้จะต้องไม่เกิน 70 ปี
3. เอกสารประกอบการกู้
คำขอกู้เงิน
เอกสาร
หากมีผู้กู้ร่วม ขอให้ผู้กู้ร่วมมายื่นคำขอกู้พร้อมหลักฐานแสดงรายได้และเอกสาร
ส่วนตัวของแต่ละท่าน
4. ค่าใช้จ่ายในการกู้
ค่าใช้จ่าย ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
กู้ไม่เกิน 500,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 1,700 บาท
กู้ไม่เกิน 500,001 - 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,200 บาท
กู้เกิน 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,500 บาท
ค่าตรวจสอบผลงานการก่อสร้าง ต่อเติม หรือ ซ่อมแซม ครั้งละ 600 บาท
ค่าดำเนินการเพื่อขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมจำนอง
รายละ 500 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ
รายละ 600 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตปริมณฑล (หรือมากกว่านี้ตามที่ธนาคารเห็นสมควร)
ชำระในวันนัดทำนิติกรรม
ค่าใช้จ่าย ณ สำนักงานที่ดิน ในวันทำนิติกรรมจำนอง (จ่ายกับสำนักงานที่ดิน)
ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง 1% ของจำนวนเงินกู้
งบประมาณในการถมดิน
งบประมาณในการรื้อถอนบ้าน
การรื้อถอนบ้านเก่า เราจะต้องเรียกพวกรับรื้อถอน มาตีราคาหลายๆ รายเพื่อเปรียบเทียบราคา แล้วท่านจะพบว่าราคาแต่ละเจ้าต่างกันพอสมควร อันนี้บางทีก็เกี่ยวกับดรรชนีความซื่อสัตย์ของคนที่จะมารับจ้างเราด้วย
วัสดุเก่าในบ้านเราเปลี่ยนเป็นเงิน โดยเราสามารถขายให้คนรื้อถอนเพื่อหักค่าจ้างได้ แต่ก่อนตกลงว่าจ้างต้องคุยกันให้ละเอียดว่าเนื้องานที่จะให้ทำมีเท่าไรมาตรการป้องกันความเดือดร้อนรำคาญสำหรับ บ้านข้างเคียงเป็นอย่างไร ความรับผิดชอบกรณีทำให้ข้างบ้านเสียหาย เป็นต้น แต่ต้องระวังผู้รับเหมารื้อถอนที่เสนองานในราคาถูกๆ เพราะเวลาทำงานจริง ปรากฏว่าไม่มีทั้งความรับผิดชอบ และความเรียบร้อย งานทำไม่เสร็จแอบหมกเม็ดเอาไว้ เช่น ไม่ขุดฐานรากบ้านเก่าทิ้ง เอาดินกลบไว้ก็มี
งบประมาณในการถมดิน
ในการเปรียบเทียบราคา ขั้นแรก เราจะต้องพิจารณาผู้รับเหมาถมดิน จากแหล่งดินที่จะนำมาถมเป็นอันดับแรก ให้สอบถามแหล่งดินที่ผู้รับเหมาถมดินก่อนว่า ใช้ดินจากที่ไหน ให้พิจารณารายที่มีแหล่งดินที่อยู่ในย่านใกล้เคียงกับที่ดินของเรา
การว่าจ้างผู้รับเหมาถมดินเท่าที่เห็น มีสองแบบคือแบบเหมาจ่าย และ แบบตกลงกันเป็นคิวหรือเป็นคันรถ ซึ่งผมขอแนะนำว่าการตกลงกันแบบเหมาจ่าย เป็นวิธีที่สะดวกที่สุดเพราะ ตรวจสอบจากเนื้องานได้ง่าย
แม้เราจะว่าจ้างถมดินแบบเหมาจ่ายก็ตาม ในขั้นตอนเสนอราคา เรามีวิธีการตรวจสอบราคา ก่อนตัดสินใจดังนี้
- หาข้อมูลกลับไปว่า ถ้าว่าจ้างแบบเป็นคิว หรือ เป็นคันรถ ราคาในการถมพร้อมบดอัด ตกคิวละเท่าไร
- เมื่อได้ราคาต่อคิวแล้ว เรามีวิธีการตรวจสอบปริมาณในการถมดินในที่ดินของเรา ดังนี้ครับ
- แปลงที่ดินของเรา จากตารางวา เป็นตารางเมตร โดยการ เอา 4 คูณจำนวนตารางวา เช่นที่ดิน 100 ตารางวา คูณ 4 จะได้ 400 ตารางเมตร
- ถ้าถมสูง 1 เมตร เอาความสูง คูณ จำนวนตารางเมตร ในที่นี้ คือ เอา 1 x 400 = 400 คิว เผื่อบดอัดด้วยรถแทรกเตอร์ ประมาณ 20 % (80 คิว) ดังนั้นจำนวนดินที่จะใช้จริง คือ 480 คิว
- ถ้าถมสูง 1.5 เมตร เอาความสูง คูณ จำนวนตารางเมตร ในที่นี้ คือ เอา 1.5 x 400 = 600 คิว เผื่อบดอัดด้วยรถแทรกเตอร์ ประมาณ 20 % (120 คิว) ดังนั้นจำนวนดินที่จะใช้จริง คือ 720 คิว
- ดินที่เหมาะที่จะนำมาใช้ถม ควรจะ เป็นดินท้องนา ในกรณีที่ที่ดินที่จะถม มีบ่อ หรือหลุมลึก ควรใช้ทราย เพื่อป้องกันการทรุดตัว เพราะเนื้อทรายละเอียดกว่า
- ระดับที่จะถมตกลงให้ชัดเจน โดยอาจจะทำเครื่องหมายไว้ที่ที่ดินของเรา ส่วนการบดอัดเป็นอย่างไร บดอัดแน่นแค่ไหน
- หลีกเลี่ยงการถมดินหน้าฝน เพราะช่วงหน้าฝนจะทำงานลำบาก และหาดินที่มาถมยาก
งบประมาณสร้างบ้าน
ก่อนเข้าเรื่องงบประมาณประมาณสร้างบ้าน หรือ งบสร้างบ้าน ขอทำความเข้าใจก่อนว่าการว่าจ้างให้ใครสักคนมาสร้างบ้านให้นั้น ท่านทำได้หลายทางเลือก ซึ่งมีทางเลือก ดังต่อไปนี้
จ้างบริษัทรับสร้างบ้าน
จ้างสถาปนิกออกแบบก่อน แล้วหาผู้รับเหมามาประมูลสร้างบ้าน
จ้างผู้รับเหมา ให้ผู้รับเหมาไปหาสถาปนิกมาออกแบบให้
จ้างผู้เชี่ยวชาญด้านการต่อรอง และว่าจ้างผู้ประกอบการรับสร้างบ้าน มาช่วยดูแล การว่าจ้างให้กับท่าน
สำหรับวิธีการตั้งงบประมาณก่อสร้าง เพื่อการวางแผนทางด้านการเงิน เพื่อควบคุมค่าใช้จ่าย ทำได้ดังนี้
จ้างสถาปนิกออกแบบก่อน แล้วหาผู้รับเหมามาประมูลสร้างบ้าน
จ้างผู้รับเหมา ให้ผู้รับเหมาไปหาสถาปนิกมาออกแบบให้
จ้างผู้เชี่ยวชาญด้านการต่อรอง และว่าจ้างผู้ประกอบการรับสร้างบ้าน มาช่วยดูแล การว่าจ้างให้กับท่าน
สำหรับวิธีการตั้งงบประมาณก่อสร้าง เพื่อการวางแผนทางด้านการเงิน เพื่อควบคุมค่าใช้จ่าย ทำได้ดังนี้
1. กรณีเลือกแบบบ้านมาตรฐานของบริษัทรับสร้างบ้าน
ในกรณีที่ท่านเลือกแบบบ้านมาตรฐาน ของบริษัทรับสร้างบ้านแล้ว ท่านจะทราบว่า งบประมาณที่จะใช้สร้างบ้านจากราคาที่บริษัทเสนอมาได้เลย แต่ท่านต้องตรวจสอบรายการวัสดุก่อสร้างทุกรายการ ที่ได้รับการเสนอมา ว่าละเอียดพอหรือไม่ ให้ระวัง สเปคที่เขียนไว้กว้างๆ ตรวจสอบวัสดุทุกรายการ ดูวัสดุที่ใช้ตกแต่ง (ดูของจริง) ว่าพอใจหรือไม่ หรือจะต้องเปลี่ยนแปลงในอนาคต เพราะหากเปลี่ยนแปลงภายหลัง ท่านต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มอย่างแน่นอน
2. กรณีออกแบบบ้านใหม่
กรณีที่ท่านออกแบบบ้านใหม่ ไม่ว่าจะเป็นการว่าจ้างสถาปนิกให้ออกแบบบ้านให้ หรือ ให้บริษัทรับสร้างบ้านออกแบบก็ตาม ก่อนลงมือออกแบบท่านก็คงอยากจะรู้ว่าบ้านหลังที่จะออกแบบนั้น จะใช้เงินค่าก่อสร้างสักเท่าไร
ถ้าท่านได้พูดคุยกับสถาปนิก สถาปนิกจะให้คำแนะนำกับท่าน ในเรื่อง งบประมาณที่จะสร้างบ้าน แต่ถ้าท่านยังไม่ได้ติดต่อกับสถาปนิกรายใดเลย แต่อยากจะรู้ว่าจะต้อง ตั้งงบสร้างบ้านสักเท่าไร ท่านมีวิธีการกำหนดงบประมาณด้วยตนเอง ดังนี้
หาแบบบ้านมาตรฐานของบริษัทรับสร้างบ้าน หรือจะดาวน์โหลดจากเว็บไซด์ของบริษัทรับสร้างบ้านก็ได้ เลือกแบบบ้านที่คิดว่าใกล้เคียงกับความ ต้องการของท่านให้มากที่สุด ( แต่ก็ยังไม่โดนใจ และต้องการออกแบบบ้านที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง) แบบบ้านที่หามานี้ใช้เป็นแบบตุ๊กตา ในการหาราคาค่าก่อสร้าง
แบบบ้านที่หามาดูนั้นควรจะหามาจากหลายๆ บริษัทฯ ให้ดูสัดส่วนระหว่างพื้นที่ใช้สอยภายใน และ ภายนอกของแบบบ้านแต่ละบริษัท ให้ใกล้เคียงกันให้มากที่สุด (ไม่ต้องสนใจหน้าตาบ้าน เพราะเราจะออกแบบใหม่ )
แบบที่ท่านเลือก จะมีรายการวัสดุอยู่ด้วยให้เลือกรายการวัสดุที่ใกล้เคียงกับความต้องการของท่านให้มากที่สุด ให้ดูรายการวัสดุหลายๆ บริษัท
ในแบบที่ท่านเลือก จะระบุขนาดพื้นที่ใช้สอยไว้ว่า แบบบ้านนั้นมีพื้นที่ใช้สอยมีขนาดกี่ตารางเมตร สเปคตามที่ท่านเลือกราคาค่าก่อสร้างเท่าไร ซึ่งจะทำให้ท่านสามารถหาค่าก่อสร้างต่อตารางเมตรได้
เอาค่าก่อสร้างของแต่ละบริษัทฯ มาหาค่าเฉลี่ย ผลที่ได้คือราคาค่าก่อสร้าง ต่อตารางเมตรของบ้านที่เราจะสร้างคูณด้วยพื้นที่ใช้สอย ที่เราต้องการ จะสร้าง ผล คือ งบประมาณที่จะใช้ในการสร้างบ้านของท่านนั่นเอง
แบบบ้านที่หามาดูนั้นควรจะหามาจากหลายๆ บริษัทฯ ให้ดูสัดส่วนระหว่างพื้นที่ใช้สอยภายใน และ ภายนอกของแบบบ้านแต่ละบริษัท ให้ใกล้เคียงกันให้มากที่สุด (ไม่ต้องสนใจหน้าตาบ้าน เพราะเราจะออกแบบใหม่ )
แบบที่ท่านเลือก จะมีรายการวัสดุอยู่ด้วยให้เลือกรายการวัสดุที่ใกล้เคียงกับความต้องการของท่านให้มากที่สุด ให้ดูรายการวัสดุหลายๆ บริษัท
ในแบบที่ท่านเลือก จะระบุขนาดพื้นที่ใช้สอยไว้ว่า แบบบ้านนั้นมีพื้นที่ใช้สอยมีขนาดกี่ตารางเมตร สเปคตามที่ท่านเลือกราคาค่าก่อสร้างเท่าไร ซึ่งจะทำให้ท่านสามารถหาค่าก่อสร้างต่อตารางเมตรได้
เอาค่าก่อสร้างของแต่ละบริษัทฯ มาหาค่าเฉลี่ย ผลที่ได้คือราคาค่าก่อสร้าง ต่อตารางเมตรของบ้านที่เราจะสร้างคูณด้วยพื้นที่ใช้สอย ที่เราต้องการ จะสร้าง ผล คือ งบประมาณที่จะใช้ในการสร้างบ้านของท่านนั่นเอง
งบประมาณในการทำรั้ว
มีบ้านก็ต้องมีรั้ว การประมาณค่าใช้จ่ายในเรื่องรั้ว ทำได้โดยการขอข้อมูลจากบริษัทรับสร้างบ้าน และผู้รับเหมาหลายๆ รายนำมาหาค่าเฉลี่ยว่าราคาประมาณเมตรละเท่าไร (หน่วยเป็นเมตรนะครับ ไม่ใช่ตารางเมตร) เอาราคาต่อเมตรนั้น คูณด้วยความยาวของรั้วที่ท่านจะทำ ก็พอจะได้งบประมาณคร่าวๆ
แต่วิธีการนี้ใช้ได้ดี สำหรับรั้วที่กั้น ด้าน ซ้าย ขวา และ ด้านหลังของบ้าน ซึ่งส่วนใหญ่จะคล้ายๆ กัน ไม่ได้เน้นเรื่องความสวยงามเหมือนอย่างรั้วหน้าบ้าน
ราคาต่อเมตรของรั้วด้านหน้านั้น ขึ้นอยู่กับดีไซน์ที่ท่านอยากจะได้ ท่านอาจจะขอดูตัวอย่างรั้วหน้าบ้าน ที่เขาสร้างไว้แล้วและถามราคาดู เพื่อเป็น ไอเดียในการ ตั้งงบประมาณของเรา และอย่าลืมถาม ขนาด ความยาว และ จำนวนต้นของเสาเข็ม ที่ลงในหนึ่งหลุมด้วย เพื่อประกอบการพิจารณา
งบประมาณอื่นๆที่จำเป็นต้องใช้
งบประมาณในการขอมิเตอร์ไฟฟ้า ประปา พวกปั๊มน้ำ แท็งก์น้ำ และ ดวงโคม ถ้าที่ดินที่เราจะปลูกสร้าง ไม่เคยมีมิเตอร์ไฟฟ้า และ ประปาเลย การขอมิเตอร์ทั้งมิเตอร์ไฟฟ้า และ มิเตอร์ประปา จะต้องมีการขออย่างละ สองครั้ง โดยครั้งแรกในช่วงเริ่มต้นสร้างบ้านเป็นการขอมิเตอร์แบบชั่วคราว ซึ่งผู้รับสร้างบ้านส่วนใหญ่จะผลักภาระมาให้ท่าน
การขอครั้งที่สองขอเมื่อบ้านเสร็จ จะเป็นการขอมิเตอร์แบบถาวร ซึ่งจะต้องคืนมิเตอร์แบบชั่วคราว โดยท่านจะได้คืนเงินบางส่วน จากการไฟฟ้า และ การประปา ภายหลังจากทำการขอมิเตอร์แบบถาวร
งบประมาณอีกส่วนหนึ่งที่ต้องเตรียมก็คือ งบประมาณในการซื้อดวงโคม โดยเฉพาะเจ้าของบ้านที่ไม่ได้ใช้บริการตกแต่งภายใน แต่แต่งบ้านด้วยตนเอง เพราะผู้รับจ้างสร้างบ้านส่วนใหญ่ ให้โคมไฟตามความจำเป็นในการใช้งานในกรณีที่เจ้าของบ้านต้องการไฟดาวน์ไลท์ หรือ โคมระย้าก็ต้องจ่ายเพิ่ม
และท่านต้องไม่ลืม งบประมาณที่จะใช้ซื้อ ปั๊มน้ำ และถังเก็บสำรองน้ำไว้ด้วย เพราะเดี๋ยวนี้เป็นของจำเป็นสำหรับบ้านไปแล้ว
งบประมาณสำรองไว้เพื่อตอบสนองความต้องการส่วนตัว
การสร้างบ้านนั้น หากตกลงราคากับผู้รับสร้างบ้าน ที่ดี ที่มีความซื่อสัตย์ เรียบร้อยแล้วส่วนใหญ่มักจะไม่มีปัญหาบานปลายในเรื่องงบประมาณ
ที่จะบานปลายจริงๆ อาจจะเป็นตัวท่านเอง เพราะบางครั้งอาจไปเห็นวัสดุ ที่ต้องตาต้องใจขึ้นมา เกิดอยากจะได้และซื้อเพิ่ม ทำให้งบบานปลายครับ จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความพอใจ และงบประมาณในกระเป๋าของแต่ละคน
วัสดุก่อสร้างที่เจ้าของบ้านชอบเปลี่ยนแปลงตามความชอบของแต่ละคน บ่อยๆ คือ หลังคา วัสดุปูผิวพื้น วัสดุปูผิวผนัง เครื่องสุขภัณฑ์ เป็นต้น
การเตรียมเงินสำรองในส่วนนี้ มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับเงินในกระเป๋าของแต่ละท่าน ที่มาข้อมูล: www.selectcon.com
home page: http://baanthaidd.blogspot.com/Tags:เรารับออกแบบบ,ออกแบบบ้าน, แบบบ้านชั้นเดียว, แบบแปลนบ้าน, บ้านออกแบบ, บ้าน แปลน, ฟรีแบบบ้าน, แบบบ้านสวย, แบบบ้านสองชั้น, บ้านราคา,เรารับออกแบบบ้าน, ขายแบบบ้าน, แบบต่างๆ สไตล์ต่างๆ หลากหลายแบบ, แบบบ้านสำเร็จ, แบบบ้านสวย, แบบบ้าน 2 ชั้น, แปลนบ้านชั้นเดียว, แบบบ้านชั้นเดียว, แบบบ้านไม้, แบบบ้านทรงไทย, แบบบ้านชั้นครึ่ง, แบบบ้านรีสอร์ท, บ้านและสวน, แบบบ้านฟรี, แบบบ้านราคาประหยัด, แบบบ้านราคาถูก, แบบบ้านประหยัดพลังงาน, แบบบ้านเรือนไทย, แบบบ้าน,แบบบ้านไม้ชั้นเดียว, แบบบ้าน2ชั้น, ออกแบบตกแต่งภายใน, อาคารพานิชย์, หรืออาคารต่างๆ,รับสร้างบ้าน, ตกแต่งภายใน, รับเหมาต่อเติม,ออกแบบโรงงาน,รื้อ บ้าน
ประหยัดพลังงานและลดค่าใช้จ่ายในบ้าน
“น้ำมัน” เป็นต้นทุนหลักของพลังงานในประเทศไทย ซึ่งเราจำเป็นต้องนำเข้าจากต่างประเทศ เป็นสาเหตุสำคัญหลักๆ สาเหตุหนึ่งของภาวะขาดดุลการค้า ถ้าเปรียบประเทศไทยเป็นคนคนหนึ่งในเวทีการค้าโลก เมื่อเราประสบภาวะขาดดุลก็หมายถึงเราค้าขายขาดทุน เงินในกระเป๋าเราลดลง เมื่อเงินในตัวเราลดลงก็แปลว่าเราจนลงเมื่อเทียบกับประเทศอื่น เราถูกคนอื่นเอาเงินเราไป ถ้าเราประสบภาวะขาดดุลอย่างต่อเนื่อง ก็จำเป็นต้องไปกู้ยืมเงินคนอื่นมาแก้ปัญหาความเป็นอยู่เฉพาะหน้า แต่พอเขามาทวงเงินเมื่อไหร่แล้วเรามีปัญหาไม่มีเงินคืน เพราะเงินในตัวไม่มี โดยคนอื่นเขาเอาไป ถ้าเราเบี้ยวไม่จ่าย ต่อไปเขาก็เลิกให้ เลิกคบ ไม่ค้าขายด้วย สุดท้ายพอไม่มีใครค้าขายด้วย เราก็ไม่มีเงินใช้ และตกอยู่ในสภาพที่มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ยากแค้น ย่ำแย่ คุณภาพชีวิตตกต่ำ
ฉะนั้นเพื่อไม่ให้ลูกหลานไทยต้องมีหนี้สินล้นพ้นตัวจากการก่อหนี้จากต่าง ประเทศ และเพื่อรักษาระดับคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป เราควรต้อง ”ตื่นตัว” เพื่อ ช่วยตัวเอง ช่วยพี่น้อง ช่วยลูกหลานของพวกเรา และที่สำคัญที่สุดก็คือ “ช่วยชาติ”
บทความนี้จะกล่าวถึงการอยู่อย่างประหยัดพลังงานและลดค่าใช้จ่ายในบ้าน เป็นแนวทางที่ไม่ยุ่งยาก ทุกคนสามารถช่วยกัน เป็นผลดีต่อประเทศและตัวของเราเอง วิธีประหยัดพลังงาน เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการมีและใช้ประโยชน์ที่อยู่อาศัยตลอดจนของใช้ในบ้านมี ดังนี้
1. ออกแบบบ้านและหันทิศทางของบ้านให้เหมาะสม
เลือกซื้อบ้านหรือออกแบบบ้านที่มีลักษณะโปร่ง อากาศถ่ายเทได้สะดวก มีการระบายความร้อนไดดี สำหรับทิศทางของบ้านควรหันหน้าไปในแนวทิศเหนือ-ใต้ เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้แสงอาทิตย์เข้าสู่ช่องเปิดของอาคารโดยตรง หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ควรใช้อุปกรณ์บังแดด เช่น ติดตั้งกันสาดหรือปลูกต้นไม้ช่วยและสร้างบ้านด้วยวัสดุที่เป็นฉนวนกันความ ร้อนได้ดี ตั้งแต่หลังคาจนถึงกรอบผนัง
2. ปลูกต้นไม้เพื่อให้ร่มเงา
การปลูกต้นไม้ให้ร่มเงาเพื่อลดความร้อนจากแสงแดด จะช่วยลดการใช้ไฟฟ้าเพื่อการปรับอากาศและการถ่ายเทอากาศ ได้ประโยชน์ในด้านการฟอกอากาศและเพิ่มออกซิเจนรอบๆ บ้านทำในคนในบ้านสดชื่น
3. เลือกซื้อแต่อุปกรณ์ที่ประหยัดพลังงาน
เช่น เลือกซื้ออุปกรณ์ที่มีฉลากเบอร์ 5 เป็นต้น
4. ใช้น้ำอย่างประหยัด รู้คุณค่า
น้ำประปาที่เราใช้มาจากแหล่งน้ำธรรมชาติที่มีจำกัด โดยผ่านกระบวนการกรองและฆ่าเชื้อจนสะอาดและบริโภคได้ ทั้งนี้ต้องอาศัยพลังงานในกระบวนการเหล่านั้น นอกจากนั้นการใช้น้ำอย่างฟุ่มเฟือยยังเป็นผลทำให้ต้องลงทุนก่อสร้างระบบผลิต และระบบส่งน้ำมากขึ้น ดังนั้น การใช้น้ำอย่างประหยัดจึงเป็นการประหยัดพลังงานที่สำคัญที่ไม่ควรมองข้าม
-ควรใช้หัวก๊อกน้ำที่มีตัวลดอัตราการไหลของน้ำให้อ่อนลง
-ปิดก๊อกน้ำในระหว่างแปรงฟัน สระผม หรือโกนหนวด
-ใช้ไม้กวาดในการกวาดพื้นแทนการใช้น้ำฉีดเพื่อทำความสะอาด
-ล้างรถด้วยถังน้ำและฟองน้ำ แทนการใช้สายยางฉีดน้ำ
- ใช้น้ำจากการซักล้าง หรือถูพื้น เพื่อรดน้ำต้นไม้ แทนการใช้น้ำประปาโดยตรง
5. การใช้เตาหุ้งต้ม
5.1 เตาถ่าน
-ควรเลือกใช้เตาถ่านชนิดที่มีประสิทธิภาพสูง
-เตรียมอาหารสด เครื่องปรุง และอุปกรณ์การทำอาหารให้พร้อมก่อนติดไฟ ไม่ควรติดไฟรอนานเกินไปจะสิ้นเปลืองถ่าน
-เลือกขนาดของหม้อหรือกะทะให้เหมาะสมกับปริมาณอาหารที่จะปรุง รวมทั้งประเภทของอาหารที่จะปรุง
-ควรทุบถ่านให้มีขนาดพอเหมาะคือประมาณชิ้นละ 2-4 ซม.
-ไม่ควรใช้ถ่านมากจนล้นเตา
-อย่าใช้ถ่านที่เปียกชื้น จะติดไฟยากและสิ้นเปลือง
-ขจัดขี้เถ้าในรังผึ้งออกให้หมดก่อนที่จะติดไฟทุกครั้งจะได้เผาไหม้ถ่านได้ดี
5.2 เตาก๊าซ
-ควรเลือกใช้ถังก๊าซที่มีเครื่องหมายสำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.)
-ควรใช้สายยางหรือสายพลาสติกชนิดยาว และมีความยาว 1-1.5 เมตร
-ตั้งเตาก๊าซให้ห่างจากถังก๊าซประมาณ 1-1.5 เมตร
-ปิดวาล์วที่หัวเตาและหัวปรับความดันเมื่อเลิกใช้งาน
6. การใช้หลอดไฟแสงสว่าง
-ปิดไฟเมื่อไม่ใช้งาน
-หมั่นทำความสะอาดหลอดแสงสว่างและโคมไฟ
-ใช้แสงสว่างเท่าที่จำเป็น ในกรณีที่ต้องใช้กับสถานที่ที่ต้องเปิดไฟทิ้งไว้ตลอดคืน ควรใช้หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์
-บริเวณใดที่เคยใช้หลอดไส้ ควรหันมาเปลี่ยนเป็นหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์
-ใช้หลอดประหยัดพลังงาน เช่น หลอดผอม (หลอดฟลูออเรสเซนต์) ซึ่งประหยัดพลังงานมากกว่าหลอดไส้ 4-5 เท่า และมีอายุการใช้งานนานกว่าหลอดไส้ 8 เท่า
-ใช้แสงธรรมชาติ แทนการเปิดหลอดแสงสว่าง เช่น ห้องครัว ห้องเก็บของ ห้องน้ำ ทางเดิน เป็นต้น
-ควรทาสีผนังห้องหรือเลือกวัสดุพื้นห้องที่เป็นสีอ่อน เพราะสีอ่อนสามารถเพื่อช่วยสะท้อนแสงสว่างภายในห้องได้ดีกว่าสีเข้ม ทำให้ไม่ต้องใช้หลอดที่กินไฟ(วัตต์)สูงเกินความจำเป็น
7. การใช้ตู้เย็น
-เลือกใช้ตู้เย็นที่มีฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5
-เลือกใช้แบบที่มีฉนวนกันความร้อนชนิดโฟมฉีด
- ตู้เย็นแบบประตูเดียว จะใช้ไฟฟ้าน้อยกว่าแบบ 2 ประตู ในขนาดที่เท่ากัน
- ใช้ขนาดให้เหมาะสมกับครอบครัว เช่น ครอบครัวขนาด 3-4 คน ควรใช้ตู้เย็นขนาด 4.5-6 คิว
- ควรตั้งตู้เย็นห่างจากฝาผนังไม่น้อยกว่า 15 ซม. เพื่อให้มีการระบายความร้อนได้ดี ประหยัดไฟแถมเป็นการยืดอายุการใช้งานอีกด้วย
- ตั้งสวิตช์ควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสม เพราะยิ่งตั้งอุณหภูมิให้ต่ำเกินไป จะทำให้คอมเพลสเซอร์จะต้องทำงานหนัก และกินไฟมาก
- อย่าเปิดตู้เย็นบ่อยหรือเปิดไว้นาน ๆ เพราะจะทำให้ตู้เย็นสูงเสียความเย็น คอมเพลสเซอร์ต้องทำงานหนักขึ้น
- ละลายน้ำแข็งสม่ำเสมอ
- หมั่นทำความสะอาดแผงร้อนที่อยู่ด้านหลังของตู้เย็น
8. การใช้เครื่องปรับอากาศ
- เลือกขนาดที่เหมาะสม ตัวอย่างเช่น ห้องที่มีความสูงไม่เกิน 3 เมตร และมีพื้นที่ห้องขนาด 13-15 ต.ร.ม. ควรใช้ขนาด 7,000-9,000 บีทียู/ชั่วโมง ขนาดพื้นที่ 16-17 ต.ร.ม. ควรใช้ขนาด 9,000-11,000 บีทียู/ชั่วโมง เป็นต้น ซึ่งสามารถขอคำแนะนำจากผู้ผลิตหรือผู้มีความรู้(อาทิ เช่น วิศวกรและการไฟฟ้า)
- ใช้เครื่องปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดซึ่งแสดงด้วยหน่วย EER(Energy Efficiency Ratio) คือ อัตราส่วนระหว่างความสามารถในการให้ความเย็นของเครื่อง (บีทียู/ชั่วโมง) ต่อกำลังไฟฟ้า (วัตต์) ซื้อเครื่องที่มีค่า EER สูงซึ่งจะให้ความเย็นมากแต่เสียค่าใช้จ่ายไฟฟ้าน้อยกว่าเครื่องที่มีค่า EER ต่ำ
- ตั้งปุ่มปรับอุณหภูมิให้เหมาะสม อย่าปรับอุณหภูมิให้ต่ำเกินไป โดยปกติควรตั้งที่อุณหภูมิ 25 องศาC
- หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศ ไม่ให้มีฝุ่นจับ เพราะจะทำให้ประสิทธิภาพการทำความเย็นลดลง
- เลือกใช้เครื่องปรับอากาศที่มีฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5
- เปิดใช้เมื่อจำเป็น
9. การใช้เครื่องทำน้ำอุ่นสำหรับอาบน้ำ
- ควรเลือกชนิดที่มีที่กักเก็บตุนน้ำร้อน เพราะจะใช้ไฟฟ้าน้อยกว่าแบบน้ำไหลผ่านขดลวดความร้อน
- เลือกขนาดของเครื่องให้เหมาะสมกับครอบครัว เนื่องจากเป็นเครื่องที่ใช้ไฟฟ้ามาก
- ไม่ควรเปิดเครื่องตลอดเวลา โดยเฉพาะในเวลาถูสบู่ในขณะอาบน้ำ
- ปิดวาล์วน้ำและสวิตช์ทันทีเมื่อเลิกใช้งาน
10. การใช้กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าหรือกาต้มน้ำไฟฟ้า
- ใส่น้ำให้พอเหมาะ และถ้าต้มน้ำต่อเนื่อง ควรมีน้ำบรรจุอยู่เสมอ
- เมื่อเลิกใช้ควรถอดปลั๊กทันที โดยเฉพาะ เมื่อน้ำเดือดและเมื่อไม่มีคนอยู่ เพราะนอกจากจะไม่ประหยัดพลังงานแล้ว ยังอาจทำให้เกิดอันตรายได้
11. การใช้เตาไฟฟ้าและเตาอบ
- ควรเตรียมเครื่องประกอบอาหารให้พร้อม รวมทั้งจัดลำดับการปรุงอาหาร
-ไม่ควรเปิดเตาไฟฟ้ารอไว้นานเกินไป
-ใช้ภาชนะประกอบอาหารให้เหมาะสม
- ภาชนะควรมีก้นแบนราบ จะได้สัมผัสความร้อนได้ทั่วถึง
- ภาชนะไม่ควรมีขนาดเล็กกว่าเตา จะสูญเสียพลังงานโดยเปล่าประโยชน์
- ภาชนะควรมีฝาครอบปิดขณะหุง จะช่วยให้อาหารสุกเร็วขึ้น
- ปิดสวิตช์เตาไฟฟ้าก่อนเสร็จสิ้นการทำอาหาร ดึงปลั๊กออกทันทีเมื่อเลิกใช้
-อย่าเปิดเตาอบบ่อย ๆ เพราะการเปิดประตูแต่ละครั้งจะสูญเสียพลังงาน ประมาณร้อยละ 20
12. การใช้เตารีดไฟฟ้า
- ควรตั้งอุณหภูมิ (ความร้อน) ให้เหมาะสมกับชนิดผ้าและแบ่งผ้าชนิดเดียวกันไว้ด้วยกัน เพื่อหลีกเลี่ยงการปรับเปลี่ยนการตั้งอุณหภูมิบ่อยครั้ง
- ควรรวบรวมผ้าไว้รีดคราวละมาก ๆ และพรมน้ำให้หมดทุกตัวก่อนจะรีดผ้า
- อย่าพรมน้ำจนเปียก เพราะจะทำให้ต้องรีดผ้านานกว่าเดิมสิ้นเปลืองไฟฟ้า
- ก่อนรีดผ้าเสร็จควรดึงปลั๊กก่อน เนื่องจากยังมีความร้อนเหลืออยู่พอที่จะรีดต่อได้
- เวลาตากผ้าควรจัดรูปทรงผ้าและดึงให้ตึง เพื่อให้เสื้อผ้ายับน้อยที่สุด จะทำให้รีดง่าย และประหยัดไฟฟ้า
13. การใช้หม้อหุงข้าวไฟฟ้าอัตโนมัติ
-เลือกขนาดที่เหมาะสมกับครอบครัว
-ไม่ควรใช้เวลาในการอุ่นข้าวให้นานเกินควร ถอดปลั๊กออกทันทีที่เลิกใช้งาน
14. การใช้โทรทัศน์
- โทรทัศน์สีที่มีขนาดใหญ่ขึ้นจะทำให้เสียค่าไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
- โทรทัศน์สีที่มีระบบรีโมทคอนโทรลจะใช้ไฟฟ้ามากกว่าระบบทั่วไปในขนาดเดียวกัน เพราะมีวงจรเพิ่มและใช้ไฟฟ้าตลอดเวลาแม้ว่าจะไม่ใช้เครื่อง
- ไม่ควรเสียบปลั๊กทิ้งไว้ ถ้าเสียบปลั๊กทิ้งไว้จะใช้ไฟฟ้าตลอดเวลา
- โทรทัศน์ขาวดำจะใช้ไฟฟ้าน้อยกว่าโทรทัศน์สี
- ปิดเมื่อไม่มีคนดู
- ควรตั้งเวลาปิดโทรทัศน์โดยอัตโนมัติ สำหรับเครื่องที่มีระบบตั้งเวลาปิด เพราะจะช่วยประหยัดไฟสำหรับผู้ที่มักนอนหลับหน้าโทรทัศน์หรือลืมปิดเครื่อง
15. การใช้ปั๊มน้ำ
- ควรเลือกซื้อเครื่องสูบน้ำที่มีถังความดันของเครื่องสูบน้ำขนาดใหญ่พอสมควร ถ้าเล็กเกินไปสวิตช์อัตโนมัติจะทำงานบ่อยขึ้นมอเตอร์ทำงานมากขึ้นเปลือง ไฟฟ้า
- ควรสร้างบ่อพักน้ำไว้ระดับพื้นดิน
- หมั่นดูแลท่อน้ำประปา และถังพักน้ำของชักโครก อย่าให้ชำรุดหรือรั่ว เพราะจะทำให้เครื่องสูบน้ำทำงานบ่อย สิ้นเปลืองไฟฟ้า
- ควรบำรุงรักษาเครื่องให้ดีอยู่เสมอ
16. การใช้เครื่องซักผ้า
-แช่ผ้าก่อนเข้าเครื่อง ทำให้ง่ายต่อการซักผ้า
-ผ้าที่ซักให้เป็นไปตามพิกัดของเครื่อง อย่าใส่ผ้ามากเกินกำลังของเครื่อง หรือซักจำนวนน้อยเกินไป
-ไม่ควรใช้เครื่องซักผ้าแบบที่มีเครื่องอบแห้งด้วยไฟฟ้าในตัว เพราะสิ้นเปลืองไฟฟ้ามาก ควรตากผ้ากับแสงแดด หรือในที่มีลมโกร
เชื่อว่าถ้าทุกคนช่วยกันนำแนวทางประหยัดพลังงานข้างต้นไปปฏิบัติอย่างจริง จัง ประเทศไทยลดการนำเข้าพลังงานได้มหาศาล เป็นการผ่อนปรนภาวะเศรษฐกิจของประเทศให้ดีขึ้น ระดับปริมาณเงินหมุนเวียนภายในประเทศจะดีขึ้นและ การค้าขายจะคล่องตัวกว่าเดิม
ฉะนั้นเพื่อไม่ให้ลูกหลานไทยต้องมีหนี้สินล้นพ้นตัวจากการก่อหนี้จากต่าง ประเทศ และเพื่อรักษาระดับคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป เราควรต้อง ”ตื่นตัว” เพื่อ ช่วยตัวเอง ช่วยพี่น้อง ช่วยลูกหลานของพวกเรา และที่สำคัญที่สุดก็คือ “ช่วยชาติ”
บทความนี้จะกล่าวถึงการอยู่อย่างประหยัดพลังงานและลดค่าใช้จ่ายในบ้าน เป็นแนวทางที่ไม่ยุ่งยาก ทุกคนสามารถช่วยกัน เป็นผลดีต่อประเทศและตัวของเราเอง วิธีประหยัดพลังงาน เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการมีและใช้ประโยชน์ที่อยู่อาศัยตลอดจนของใช้ในบ้านมี ดังนี้
1. ออกแบบบ้านและหันทิศทางของบ้านให้เหมาะสม
เลือกซื้อบ้านหรือออกแบบบ้านที่มีลักษณะโปร่ง อากาศถ่ายเทได้สะดวก มีการระบายความร้อนไดดี สำหรับทิศทางของบ้านควรหันหน้าไปในแนวทิศเหนือ-ใต้ เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้แสงอาทิตย์เข้าสู่ช่องเปิดของอาคารโดยตรง หากหลีกเลี่ยงไม่ได้ควรใช้อุปกรณ์บังแดด เช่น ติดตั้งกันสาดหรือปลูกต้นไม้ช่วยและสร้างบ้านด้วยวัสดุที่เป็นฉนวนกันความ ร้อนได้ดี ตั้งแต่หลังคาจนถึงกรอบผนัง
2. ปลูกต้นไม้เพื่อให้ร่มเงา
การปลูกต้นไม้ให้ร่มเงาเพื่อลดความร้อนจากแสงแดด จะช่วยลดการใช้ไฟฟ้าเพื่อการปรับอากาศและการถ่ายเทอากาศ ได้ประโยชน์ในด้านการฟอกอากาศและเพิ่มออกซิเจนรอบๆ บ้านทำในคนในบ้านสดชื่น
3. เลือกซื้อแต่อุปกรณ์ที่ประหยัดพลังงาน
เช่น เลือกซื้ออุปกรณ์ที่มีฉลากเบอร์ 5 เป็นต้น
4. ใช้น้ำอย่างประหยัด รู้คุณค่า
น้ำประปาที่เราใช้มาจากแหล่งน้ำธรรมชาติที่มีจำกัด โดยผ่านกระบวนการกรองและฆ่าเชื้อจนสะอาดและบริโภคได้ ทั้งนี้ต้องอาศัยพลังงานในกระบวนการเหล่านั้น นอกจากนั้นการใช้น้ำอย่างฟุ่มเฟือยยังเป็นผลทำให้ต้องลงทุนก่อสร้างระบบผลิต และระบบส่งน้ำมากขึ้น ดังนั้น การใช้น้ำอย่างประหยัดจึงเป็นการประหยัดพลังงานที่สำคัญที่ไม่ควรมองข้าม
-ควรใช้หัวก๊อกน้ำที่มีตัวลดอัตราการไหลของน้ำให้อ่อนลง
-ปิดก๊อกน้ำในระหว่างแปรงฟัน สระผม หรือโกนหนวด
-ใช้ไม้กวาดในการกวาดพื้นแทนการใช้น้ำฉีดเพื่อทำความสะอาด
-ล้างรถด้วยถังน้ำและฟองน้ำ แทนการใช้สายยางฉีดน้ำ
- ใช้น้ำจากการซักล้าง หรือถูพื้น เพื่อรดน้ำต้นไม้ แทนการใช้น้ำประปาโดยตรง
5. การใช้เตาหุ้งต้ม
5.1 เตาถ่าน
-ควรเลือกใช้เตาถ่านชนิดที่มีประสิทธิภาพสูง
-เตรียมอาหารสด เครื่องปรุง และอุปกรณ์การทำอาหารให้พร้อมก่อนติดไฟ ไม่ควรติดไฟรอนานเกินไปจะสิ้นเปลืองถ่าน
-เลือกขนาดของหม้อหรือกะทะให้เหมาะสมกับปริมาณอาหารที่จะปรุง รวมทั้งประเภทของอาหารที่จะปรุง
-ควรทุบถ่านให้มีขนาดพอเหมาะคือประมาณชิ้นละ 2-4 ซม.
-ไม่ควรใช้ถ่านมากจนล้นเตา
-อย่าใช้ถ่านที่เปียกชื้น จะติดไฟยากและสิ้นเปลือง
-ขจัดขี้เถ้าในรังผึ้งออกให้หมดก่อนที่จะติดไฟทุกครั้งจะได้เผาไหม้ถ่านได้ดี
5.2 เตาก๊าซ
-ควรเลือกใช้ถังก๊าซที่มีเครื่องหมายสำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.)
-ควรใช้สายยางหรือสายพลาสติกชนิดยาว และมีความยาว 1-1.5 เมตร
-ตั้งเตาก๊าซให้ห่างจากถังก๊าซประมาณ 1-1.5 เมตร
-ปิดวาล์วที่หัวเตาและหัวปรับความดันเมื่อเลิกใช้งาน
6. การใช้หลอดไฟแสงสว่าง
-ปิดไฟเมื่อไม่ใช้งาน
-หมั่นทำความสะอาดหลอดแสงสว่างและโคมไฟ
-ใช้แสงสว่างเท่าที่จำเป็น ในกรณีที่ต้องใช้กับสถานที่ที่ต้องเปิดไฟทิ้งไว้ตลอดคืน ควรใช้หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์
-บริเวณใดที่เคยใช้หลอดไส้ ควรหันมาเปลี่ยนเป็นหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต์
-ใช้หลอดประหยัดพลังงาน เช่น หลอดผอม (หลอดฟลูออเรสเซนต์) ซึ่งประหยัดพลังงานมากกว่าหลอดไส้ 4-5 เท่า และมีอายุการใช้งานนานกว่าหลอดไส้ 8 เท่า
-ใช้แสงธรรมชาติ แทนการเปิดหลอดแสงสว่าง เช่น ห้องครัว ห้องเก็บของ ห้องน้ำ ทางเดิน เป็นต้น
-ควรทาสีผนังห้องหรือเลือกวัสดุพื้นห้องที่เป็นสีอ่อน เพราะสีอ่อนสามารถเพื่อช่วยสะท้อนแสงสว่างภายในห้องได้ดีกว่าสีเข้ม ทำให้ไม่ต้องใช้หลอดที่กินไฟ(วัตต์)สูงเกินความจำเป็น
7. การใช้ตู้เย็น
-เลือกใช้ตู้เย็นที่มีฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5
-เลือกใช้แบบที่มีฉนวนกันความร้อนชนิดโฟมฉีด
- ตู้เย็นแบบประตูเดียว จะใช้ไฟฟ้าน้อยกว่าแบบ 2 ประตู ในขนาดที่เท่ากัน
- ใช้ขนาดให้เหมาะสมกับครอบครัว เช่น ครอบครัวขนาด 3-4 คน ควรใช้ตู้เย็นขนาด 4.5-6 คิว
- ควรตั้งตู้เย็นห่างจากฝาผนังไม่น้อยกว่า 15 ซม. เพื่อให้มีการระบายความร้อนได้ดี ประหยัดไฟแถมเป็นการยืดอายุการใช้งานอีกด้วย
- ตั้งสวิตช์ควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสม เพราะยิ่งตั้งอุณหภูมิให้ต่ำเกินไป จะทำให้คอมเพลสเซอร์จะต้องทำงานหนัก และกินไฟมาก
- อย่าเปิดตู้เย็นบ่อยหรือเปิดไว้นาน ๆ เพราะจะทำให้ตู้เย็นสูงเสียความเย็น คอมเพลสเซอร์ต้องทำงานหนักขึ้น
- ละลายน้ำแข็งสม่ำเสมอ
- หมั่นทำความสะอาดแผงร้อนที่อยู่ด้านหลังของตู้เย็น
8. การใช้เครื่องปรับอากาศ
- เลือกขนาดที่เหมาะสม ตัวอย่างเช่น ห้องที่มีความสูงไม่เกิน 3 เมตร และมีพื้นที่ห้องขนาด 13-15 ต.ร.ม. ควรใช้ขนาด 7,000-9,000 บีทียู/ชั่วโมง ขนาดพื้นที่ 16-17 ต.ร.ม. ควรใช้ขนาด 9,000-11,000 บีทียู/ชั่วโมง เป็นต้น ซึ่งสามารถขอคำแนะนำจากผู้ผลิตหรือผู้มีความรู้(อาทิ เช่น วิศวกรและการไฟฟ้า)
- ใช้เครื่องปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดซึ่งแสดงด้วยหน่วย EER(Energy Efficiency Ratio) คือ อัตราส่วนระหว่างความสามารถในการให้ความเย็นของเครื่อง (บีทียู/ชั่วโมง) ต่อกำลังไฟฟ้า (วัตต์) ซื้อเครื่องที่มีค่า EER สูงซึ่งจะให้ความเย็นมากแต่เสียค่าใช้จ่ายไฟฟ้าน้อยกว่าเครื่องที่มีค่า EER ต่ำ
- ตั้งปุ่มปรับอุณหภูมิให้เหมาะสม อย่าปรับอุณหภูมิให้ต่ำเกินไป โดยปกติควรตั้งที่อุณหภูมิ 25 องศาC
- หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศ ไม่ให้มีฝุ่นจับ เพราะจะทำให้ประสิทธิภาพการทำความเย็นลดลง
- เลือกใช้เครื่องปรับอากาศที่มีฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5
- เปิดใช้เมื่อจำเป็น
9. การใช้เครื่องทำน้ำอุ่นสำหรับอาบน้ำ
- ควรเลือกชนิดที่มีที่กักเก็บตุนน้ำร้อน เพราะจะใช้ไฟฟ้าน้อยกว่าแบบน้ำไหลผ่านขดลวดความร้อน
- เลือกขนาดของเครื่องให้เหมาะสมกับครอบครัว เนื่องจากเป็นเครื่องที่ใช้ไฟฟ้ามาก
- ไม่ควรเปิดเครื่องตลอดเวลา โดยเฉพาะในเวลาถูสบู่ในขณะอาบน้ำ
- ปิดวาล์วน้ำและสวิตช์ทันทีเมื่อเลิกใช้งาน
10. การใช้กระติกน้ำร้อนไฟฟ้าหรือกาต้มน้ำไฟฟ้า
- ใส่น้ำให้พอเหมาะ และถ้าต้มน้ำต่อเนื่อง ควรมีน้ำบรรจุอยู่เสมอ
- เมื่อเลิกใช้ควรถอดปลั๊กทันที โดยเฉพาะ เมื่อน้ำเดือดและเมื่อไม่มีคนอยู่ เพราะนอกจากจะไม่ประหยัดพลังงานแล้ว ยังอาจทำให้เกิดอันตรายได้
11. การใช้เตาไฟฟ้าและเตาอบ
- ควรเตรียมเครื่องประกอบอาหารให้พร้อม รวมทั้งจัดลำดับการปรุงอาหาร
-ไม่ควรเปิดเตาไฟฟ้ารอไว้นานเกินไป
-ใช้ภาชนะประกอบอาหารให้เหมาะสม
- ภาชนะควรมีก้นแบนราบ จะได้สัมผัสความร้อนได้ทั่วถึง
- ภาชนะไม่ควรมีขนาดเล็กกว่าเตา จะสูญเสียพลังงานโดยเปล่าประโยชน์
- ภาชนะควรมีฝาครอบปิดขณะหุง จะช่วยให้อาหารสุกเร็วขึ้น
- ปิดสวิตช์เตาไฟฟ้าก่อนเสร็จสิ้นการทำอาหาร ดึงปลั๊กออกทันทีเมื่อเลิกใช้
-อย่าเปิดเตาอบบ่อย ๆ เพราะการเปิดประตูแต่ละครั้งจะสูญเสียพลังงาน ประมาณร้อยละ 20
12. การใช้เตารีดไฟฟ้า
- ควรตั้งอุณหภูมิ (ความร้อน) ให้เหมาะสมกับชนิดผ้าและแบ่งผ้าชนิดเดียวกันไว้ด้วยกัน เพื่อหลีกเลี่ยงการปรับเปลี่ยนการตั้งอุณหภูมิบ่อยครั้ง
- ควรรวบรวมผ้าไว้รีดคราวละมาก ๆ และพรมน้ำให้หมดทุกตัวก่อนจะรีดผ้า
- อย่าพรมน้ำจนเปียก เพราะจะทำให้ต้องรีดผ้านานกว่าเดิมสิ้นเปลืองไฟฟ้า
- ก่อนรีดผ้าเสร็จควรดึงปลั๊กก่อน เนื่องจากยังมีความร้อนเหลืออยู่พอที่จะรีดต่อได้
- เวลาตากผ้าควรจัดรูปทรงผ้าและดึงให้ตึง เพื่อให้เสื้อผ้ายับน้อยที่สุด จะทำให้รีดง่าย และประหยัดไฟฟ้า
13. การใช้หม้อหุงข้าวไฟฟ้าอัตโนมัติ
-เลือกขนาดที่เหมาะสมกับครอบครัว
-ไม่ควรใช้เวลาในการอุ่นข้าวให้นานเกินควร ถอดปลั๊กออกทันทีที่เลิกใช้งาน
14. การใช้โทรทัศน์
- โทรทัศน์สีที่มีขนาดใหญ่ขึ้นจะทำให้เสียค่าไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
- โทรทัศน์สีที่มีระบบรีโมทคอนโทรลจะใช้ไฟฟ้ามากกว่าระบบทั่วไปในขนาดเดียวกัน เพราะมีวงจรเพิ่มและใช้ไฟฟ้าตลอดเวลาแม้ว่าจะไม่ใช้เครื่อง
- ไม่ควรเสียบปลั๊กทิ้งไว้ ถ้าเสียบปลั๊กทิ้งไว้จะใช้ไฟฟ้าตลอดเวลา
- โทรทัศน์ขาวดำจะใช้ไฟฟ้าน้อยกว่าโทรทัศน์สี
- ปิดเมื่อไม่มีคนดู
- ควรตั้งเวลาปิดโทรทัศน์โดยอัตโนมัติ สำหรับเครื่องที่มีระบบตั้งเวลาปิด เพราะจะช่วยประหยัดไฟสำหรับผู้ที่มักนอนหลับหน้าโทรทัศน์หรือลืมปิดเครื่อง
15. การใช้ปั๊มน้ำ
- ควรเลือกซื้อเครื่องสูบน้ำที่มีถังความดันของเครื่องสูบน้ำขนาดใหญ่พอสมควร ถ้าเล็กเกินไปสวิตช์อัตโนมัติจะทำงานบ่อยขึ้นมอเตอร์ทำงานมากขึ้นเปลือง ไฟฟ้า
- ควรสร้างบ่อพักน้ำไว้ระดับพื้นดิน
- หมั่นดูแลท่อน้ำประปา และถังพักน้ำของชักโครก อย่าให้ชำรุดหรือรั่ว เพราะจะทำให้เครื่องสูบน้ำทำงานบ่อย สิ้นเปลืองไฟฟ้า
- ควรบำรุงรักษาเครื่องให้ดีอยู่เสมอ
16. การใช้เครื่องซักผ้า
-แช่ผ้าก่อนเข้าเครื่อง ทำให้ง่ายต่อการซักผ้า
-ผ้าที่ซักให้เป็นไปตามพิกัดของเครื่อง อย่าใส่ผ้ามากเกินกำลังของเครื่อง หรือซักจำนวนน้อยเกินไป
-ไม่ควรใช้เครื่องซักผ้าแบบที่มีเครื่องอบแห้งด้วยไฟฟ้าในตัว เพราะสิ้นเปลืองไฟฟ้ามาก ควรตากผ้ากับแสงแดด หรือในที่มีลมโกร
เชื่อว่าถ้าทุกคนช่วยกันนำแนวทางประหยัดพลังงานข้างต้นไปปฏิบัติอย่างจริง จัง ประเทศไทยลดการนำเข้าพลังงานได้มหาศาล เป็นการผ่อนปรนภาวะเศรษฐกิจของประเทศให้ดีขึ้น ระดับปริมาณเงินหมุนเวียนภายในประเทศจะดีขึ้นและ การค้าขายจะคล่องตัวกว่าเดิม
ที่มาจาก www.tanasorn.com
home page: http://baanthaidd.blogspot.com/Tags:เรารับออกแบบบ,ออกแบบบ้าน, แบบบ้านชั้นเดียว, แบบแปลนบ้าน, บ้านออกแบบ, บ้าน แปลน, ฟรีแบบบ้าน, แบบบ้านสวย, แบบบ้านสองชั้น, บ้านราคา,เรารับออกแบบบ้าน, ขายแบบบ้าน, แบบต่างๆ สไตล์ต่างๆ หลากหลายแบบ, แบบบ้านสำเร็จ, แบบบ้านสวย, แบบบ้าน 2 ชั้น, แปลนบ้านชั้นเดียว, แบบบ้านชั้นเดียว, แบบบ้านไม้, แบบบ้านทรงไทย, แบบบ้านชั้นครึ่ง, แบบบ้านรีสอร์ท, บ้านและสวน, แบบบ้านฟรี, แบบบ้านราคาประหยัด, แบบบ้านราคาถูก, แบบบ้านประหยัดพลังงาน, แบบบ้านเรือนไทย, แบบบ้าน,แบบบ้านไม้ชั้นเดียว, แบบบ้าน2ชั้น, ออกแบบตกแต่งภายใน, อาคารพานิชย์, หรืออาคารต่างๆ,รับสร้างบ้าน, ตกแต่งภายใน, รับเหมาต่อเติม,ออกแบบโรงงาน,รื้อ บ้าน