บริการเงินกู้สินเชื่อเคหะของธนาคารออมสิน เป็นสินเชื่อที่มีเงื่อนไขง่ายๆไม่ยุ่งยาก เหมาะสำหรับคนที่ต้องการมีบ้าน ต้องการไถ่ถอนจำนอง ต้องการซื้อที่ดิน หรือต้องการต่อเติมซ่อมแซมบ้าน
คุณสมบัติผู้ขอกู้เงิน :
จะมีอายุตั้งแต่ 20 ปี ขึ้นไป มีอาชีพการงานและรายได้ที่แน่นอน
วงเงินกู้ :
ไม่เกิน 95% ของราคาประเมินหลักทรัพย์ และ ไม่เกิน 90% ของราคาประเมินหลักทรัพย์ กรณีห้องชุด
ไม่เกิน 80% ของราคาขายเมื่อเริ่มโครงการ หรือไม่เกิน 70% ของราคาขายเมื่อเริ่มโครงการ กรณีซื้อห้องชุด
ไม่เกิน 100% ของราคาประเมินอาคารที่ปลูกสร้าง หรือต่อเติมซ่อมแซม
ระยะเวลาที่ต้องชำระเงินกู้ :
ต้องไม่เกิน 30 ปี และเมื่อรวมอายุกับผู้ขอกู้แล้วจะต้องไม่เกิน 65 ปี
หลักประกันเงินกู้ :
ที่ดิน , ที่ดินและอาคาร , ห้องชุด
เอกสารหลักฐานของผู้ขอกู้เงิน :
สำเนาบัตรประจำตัว , สำเนาใบสำคัญสมรส หรือสำเนาใบแสดงการหย่า หรือสำเนาใบมรณบัตรของผู้สมรส
สำเนาทะเบียนบ้านของผู้ขอกู้และคู่สมรส
เอกสารแสดงรายได้กรณีที่เป็นข้าราชการ , พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือพนักงานบริษัท
หนังสือรับรองเงินเดือนของผู้ขอกู้ และคู่สมรส
สลิปเงินเดือน , ใบเสียภาษีเงินได้
สำเนาบัญชีเงินฝากธนาคารฯ (ถ้ามี)
กรณีมีรายได้จากแหล่งอื่นๆอีก ต้องแนบหลักฐานมาประกอบการพิจารณาสินเชื่อด้วย
เอกสารแสดงรายได้กรณีที่ประกอบอาชีพส่วนตัว :
สำเนาทะเบียนการค้า , สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียน , บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น
รายการเดินบัญชี บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน หรือสำเนาบัญชีเงินฝากอย่างน้อย 6 เดือน
งบการเงิน
เอกสารอื่นๆ ที่แสดงที่มาของรายได้
เอกสารแสดงหลักทรัพย์ค้ำประกัน :
สำเนาโฉนดที่ดิน น.ส.3 ก. หรือสำเนาหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ห้องชุด (ถ่ายเอกสารทุกหน้าขนาดเท่ากับต้นฉบับ)
แผนผังบริเวณที่ตั้งหลักทรัพย์
สำเนาสัญญาจะซื้อจะขาย , ใบเสร็จรับเงินดาวน์
ราคาประเมินของกรมที่ดิน (ถ้ามี)
เอกสารอื่นๆ ตามความจำเป็นที่ใช้ในการขอกู้
กรณีต้องการปลูกสร้างหรือต่อเติมซ่อมแซมบ้าน :
แบบแปลนหรือแผนผังรายการซ่อมแซมอาคาร , ใบประเมินราคารายการซ่อมแซม
สำเนาใบอนุญาตให้ก่อสร้างอาคาร หรือสำเนาใบอนุญาตให้ต่อเติมซ่อมแซมอาคาร
สำเนาสัญญาว่าจ้างก่อสร้างอาคาร หรือสำเนาสัญญาว่าจ้างต่อเติมซ่อมแซมอาคาร
ใบให้เลขหมายประจำบ้าน หรือห้องชุด
สำเนาทะเบียนบ้านที่จะซื้อหรือต่อเติม
กรณีไถ่ถอนจำนอง :
สำเนาสัญญากู้เงิน และสัญญาจำนองพร้อมสัญญาต่อท้าย
หนังสือรับรองยอดหนี้เงินกู้คงเหลือ
ใบเสร็จรับเงินแสดงการผ่อนชำระหนี้ย้อนหลัง อย่างน้อย 6 เดือน
สำเนาทะเบียนบ้านที่ขอไถ่ถอนจำนอง
ที่มา www.gsb.or.th/loan/business/domestic.php
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สินเชื่อเงินกู้ซื้อที่ดินพร้อมบ้าน
สินเชื่อเงินกู้ซื้อที่ดินพร้อมบ้าน
1. วงเงินให้กู้
-ให้กู้ในวงเงินไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และ ไม่เกิน 85% ของราคาซื้อ-ขาย
-กรณีซื้ออาคารพาณิชย์ ให้กู้ได้ไม่เกิน 75% ของราคาประเมิน และไม่เกิน 75% ของราคาซื้อขาย
-กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือนผู้กู้ และอีก 15 เท่าของรายได้อื่น ๆ หรือไม่ เกิน 40 เท่าสำหรับอาชีพอิสระ (โดยประมาณ)
2. ระยะเวลาให้กู้
-ระยะเวลาให้กู้สูงสุด 30 ปี
-อายุของผู้กู้รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้จะต้องไม่เกิน 70 ปี
3. เอกสารประกอบการกู้
-คำขอกู้เงิน
-*เอกสาร
-หากมีผู้กู้ร่วม ขอให้ผู้กู้ร่วมมายื่นคำขอกู้พร้อมหลักฐานแสดงรายได้และเอกสาร ส่วนตัวของแต่ละท่าน
4. ค่าใช้จ่ายในการกู้
4.1 ค่าใช้จ่าย ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
-กู้ไม่เกิน 500,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 1,700 บาท
-กู้ไม่เกิน 500,001 - 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,200 บาท
-กู้เกิน 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,500 บาท
-ค่าตรวจสอบผลงานการก่อสร้าง ต่อเติม หรือ ซ่อมแซม ครั้งละ 600 บาท
-ค่าดำเนินการเพื่อขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมจำนอง
-รายละ 500 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ
-รายละ 600 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตปริมณฑล (หรือมากกว่านี้ตามที่ธนาคารเห็นสมควร)
-ชำระในวันนัดทำนิติกรรม
4.2 ค่าใช้จ่าย ณ สำนักงานที่ดิน ในวันทำนิติกรรมจำนอง (จ่ายกับสำนักงานที่ดิน)
-ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง 1% ของจำ
5. วิธีการชำระหนี้เงินกู้
ชำระเงินกู้งวดแรก ภายใน 30 วัน นับจากวันที่รับเงินกู้ไปจากธนาคารฯ และชำระเงินกู้งวด ต่อไปทุกเดือน จนกว่าจะชำระหนี้เสร็จสิ้น โดยมีวิธีชำระเงินกู้ดังต่อไป
5.1 ชำระเป็นเงินสดหรือเช็ค
5.2 ชำระผ่านบัญชีเงินฝากธนาคารอาคารสงเคราะห์
5.3 ชำระโดยวิธีการหักบัญชีเงินฝาก เงินฝากออมทรัพย์ หรือเงินฝากกระแสรายวัน ที่เปิดไว้กับ
-ธนาคารกรุงไทย -หรือ
-ธนาคารกรุงเทพ -หรือ
-ธนาคารไทยพาณิชย์
ทุกสาขาทั่วราชอาณาจักร ทั้งนี้ผู้กู้จะต้องนำเงินฝากเข้าบัญชี ก่อนวันที่ 5 ของทุกเดือน
5.4 ชำระผ่านจุดรับ-จ่ายเงิน (PAY-POINT) และ Pay at Post
5.5 ชำระผ่านเคาเตอร์ ธนาคารนครหลวงไทย และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ทั่วประเทศ
5.6 ชำระผ่านที่ทำการไปรษณีย์ทุกแห่งทั่วประเทศ เสียค่าธรรมเนียทรายการล่ะ 10 บาท ไม่เกินรายการล่ะ 50,000 บาท
5.7 ชำระผ่านเคาน์เตอร์การเงินนอกสถานที่ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ จำนวน 10 แห่ง ได้แก่ แฟชั่นไอส์แลนด์ ศูนย์การค้าฟอร์จูน อิมพีเรียล (สำโรง) ฟิวเจอร์พาร์ค (รังสิต) บิ๊กซี (แจ้งวัฒนะ บางนา) และเดอร์มอลล์ (บางกะปิ บางแค ท่าพระ งามวงศ์วาน)
5.8 ชำระได้ที่ศูนย์บริการครบวงจร ณ ที่ว่าการอำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองนครปฐม อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ และอำเภทเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
(กรณีชำระในกรุงเทพ เสียค่าธรรมเนียม 10 บาท ต่างจังหวัด 15 บาท)
หมายเหตุ *เอกสารประกอบการกู้เงิน
1.สำเนาบัตรประชาชน/รัฐวิสาหกิจ/ข้าราชการพร้อมฉบับจริง
2.สำเนาทะเบียนบ้าน ทุกหน้า ทุกคนพร้อมฉบับจริง
3.สำเนาทะเบียนสมรส/ใบหย่า/ในมรณะบัตร/ใบแจ้งความแยกกันอยู่ พร้อมฉบับจริง
4.สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของคู่สมรสพร้อมฉบับจริง
5.สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ-นามสกุล(ถ้ามี)พร้อมฉบับจริง
6.ใบรับรองเงินเดือน (ฉบับจริง) หรือ หนังสือผ่านสิทธิสวัสดิการข้อตกลง (ฉบับจริง)
7.สลิปเงินเดือนหรือหลักฐานการรับรองเงินเดือนปัจจุบัน 3 เดือน ย้อนหลัง(ฉบับจริง )
8.สำเนาบัญชีเงินฝากแสดงรายการย้อนหลัง 12 เดือน หลักฐานแสดงฐานะการเงินอื่น ๆ พร้อมฉบับจริง หรือ Statement ที่สถาบันการเงินออกให้พร้อมประทับตรารับรองทุกฉบับ
9.สำเนาทะเบียนการค้า/ทะเบียนบริษัท/ห้างหุ้นส่วนฯ(ภงต.90, 91, ทวิ 50, หนังสือหักภาษี ณ ที่จ่าย)
10.หลักฐานการเสียภาษีเงินได้พร้อมใบเสร็จตัวจริงจากกรมสรรพากร ย้อนหลัง 6 เดือน
11.รูปถ่ายกิจการ จำนวน 3-4 รูป
12.สำเนาในประกอบวิชาชีพ, ในอนุญาตประกอบการ
13.สมุดทะเบียนรถยนต์, รูปถ่ายรถยนต์ 2-3 รูป
14.สำเนาสัญญาซื้อขาย/สัญญาวางมัดจำ/สัญญาเช่าซื้อการเคหะฯและหนังสือรับรองยอดคงเหลือ(กรณีซื้อ)
15.สำเนาบัตรประชาชน ทะเบียนบ้านของผู้ขาย (รับรองสำเนา)
16.สำเนาหนังสือสัญญากู้เงิน บันทึกต่อท้ายสัญญากู้เงิน
17.สำเนาสัญญาจำนอง
18.ใบเสร็จการผ่อนชำระย้อนหลัง 24 เดือน(กรณีไถ่ถอน)
19.ใบขออนุญาตปลูกสร้าง/รื้อถอนอาคาร
20.แบบแปลน รูปพื้น, ด้านข้างทั้ง 4 ด้าน , ด้านตัดขวาง
21.สำเนาสัญญาจ้างเหมาปลูกสร้าง (กรณีปลูกสร้าง/ต่อเติม) พร้อมสำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้านของผู้รับเหมา
22.หลักฐานการเป็นเจ้าของอาคารเลขที่.....................
23.ใบประมาณราคาค่าปลูกสร้าง
24.สำเนาสัญญาขาย/ให้ ฉบับกรมที่ดิน
25.สำเนาโฉนดที่ดิน/นส.3ก/หนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด/อช.2(2 ชุด)
ที่มา: ธนาคารอาคารสงเคราะห์
1. วงเงินให้กู้
-ให้กู้ในวงเงินไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และ ไม่เกิน 85% ของราคาซื้อ-ขาย
-กรณีซื้ออาคารพาณิชย์ ให้กู้ได้ไม่เกิน 75% ของราคาประเมิน และไม่เกิน 75% ของราคาซื้อขาย
-กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือนผู้กู้ และอีก 15 เท่าของรายได้อื่น ๆ หรือไม่ เกิน 40 เท่าสำหรับอาชีพอิสระ (โดยประมาณ)
2. ระยะเวลาให้กู้
-ระยะเวลาให้กู้สูงสุด 30 ปี
-อายุของผู้กู้รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้จะต้องไม่เกิน 70 ปี
3. เอกสารประกอบการกู้
-คำขอกู้เงิน
-*เอกสาร
-หากมีผู้กู้ร่วม ขอให้ผู้กู้ร่วมมายื่นคำขอกู้พร้อมหลักฐานแสดงรายได้และเอกสาร ส่วนตัวของแต่ละท่าน
4. ค่าใช้จ่ายในการกู้
4.1 ค่าใช้จ่าย ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
-กู้ไม่เกิน 500,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 1,700 บาท
-กู้ไม่เกิน 500,001 - 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,200 บาท
-กู้เกิน 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,500 บาท
-ค่าตรวจสอบผลงานการก่อสร้าง ต่อเติม หรือ ซ่อมแซม ครั้งละ 600 บาท
-ค่าดำเนินการเพื่อขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมจำนอง
-รายละ 500 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ
-รายละ 600 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตปริมณฑล (หรือมากกว่านี้ตามที่ธนาคารเห็นสมควร)
-ชำระในวันนัดทำนิติกรรม
4.2 ค่าใช้จ่าย ณ สำนักงานที่ดิน ในวันทำนิติกรรมจำนอง (จ่ายกับสำนักงานที่ดิน)
-ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง 1% ของจำ
5. วิธีการชำระหนี้เงินกู้
ชำระเงินกู้งวดแรก ภายใน 30 วัน นับจากวันที่รับเงินกู้ไปจากธนาคารฯ และชำระเงินกู้งวด ต่อไปทุกเดือน จนกว่าจะชำระหนี้เสร็จสิ้น โดยมีวิธีชำระเงินกู้ดังต่อไป
5.1 ชำระเป็นเงินสดหรือเช็ค
5.2 ชำระผ่านบัญชีเงินฝากธนาคารอาคารสงเคราะห์
5.3 ชำระโดยวิธีการหักบัญชีเงินฝาก เงินฝากออมทรัพย์ หรือเงินฝากกระแสรายวัน ที่เปิดไว้กับ
-ธนาคารกรุงไทย -หรือ
-ธนาคารกรุงเทพ -หรือ
-ธนาคารไทยพาณิชย์
ทุกสาขาทั่วราชอาณาจักร ทั้งนี้ผู้กู้จะต้องนำเงินฝากเข้าบัญชี ก่อนวันที่ 5 ของทุกเดือน
5.4 ชำระผ่านจุดรับ-จ่ายเงิน (PAY-POINT) และ Pay at Post
5.5 ชำระผ่านเคาเตอร์ ธนาคารนครหลวงไทย และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ทั่วประเทศ
5.6 ชำระผ่านที่ทำการไปรษณีย์ทุกแห่งทั่วประเทศ เสียค่าธรรมเนียทรายการล่ะ 10 บาท ไม่เกินรายการล่ะ 50,000 บาท
5.7 ชำระผ่านเคาน์เตอร์การเงินนอกสถานที่ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ จำนวน 10 แห่ง ได้แก่ แฟชั่นไอส์แลนด์ ศูนย์การค้าฟอร์จูน อิมพีเรียล (สำโรง) ฟิวเจอร์พาร์ค (รังสิต) บิ๊กซี (แจ้งวัฒนะ บางนา) และเดอร์มอลล์ (บางกะปิ บางแค ท่าพระ งามวงศ์วาน)
5.8 ชำระได้ที่ศูนย์บริการครบวงจร ณ ที่ว่าการอำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองนครปฐม อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ และอำเภทเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
(กรณีชำระในกรุงเทพ เสียค่าธรรมเนียม 10 บาท ต่างจังหวัด 15 บาท)
หมายเหตุ *เอกสารประกอบการกู้เงิน
1.สำเนาบัตรประชาชน/รัฐวิสาหกิจ/ข้าราชการพร้อมฉบับจริง
2.สำเนาทะเบียนบ้าน ทุกหน้า ทุกคนพร้อมฉบับจริง
3.สำเนาทะเบียนสมรส/ใบหย่า/ในมรณะบัตร/ใบแจ้งความแยกกันอยู่ พร้อมฉบับจริง
4.สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของคู่สมรสพร้อมฉบับจริง
5.สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ-นามสกุล(ถ้ามี)พร้อมฉบับจริง
6.ใบรับรองเงินเดือน (ฉบับจริง) หรือ หนังสือผ่านสิทธิสวัสดิการข้อตกลง (ฉบับจริง)
7.สลิปเงินเดือนหรือหลักฐานการรับรองเงินเดือนปัจจุบัน 3 เดือน ย้อนหลัง(ฉบับจริง )
8.สำเนาบัญชีเงินฝากแสดงรายการย้อนหลัง 12 เดือน หลักฐานแสดงฐานะการเงินอื่น ๆ พร้อมฉบับจริง หรือ Statement ที่สถาบันการเงินออกให้พร้อมประทับตรารับรองทุกฉบับ
9.สำเนาทะเบียนการค้า/ทะเบียนบริษัท/ห้างหุ้นส่วนฯ(ภงต.90, 91, ทวิ 50, หนังสือหักภาษี ณ ที่จ่าย)
10.หลักฐานการเสียภาษีเงินได้พร้อมใบเสร็จตัวจริงจากกรมสรรพากร ย้อนหลัง 6 เดือน
11.รูปถ่ายกิจการ จำนวน 3-4 รูป
12.สำเนาในประกอบวิชาชีพ, ในอนุญาตประกอบการ
13.สมุดทะเบียนรถยนต์, รูปถ่ายรถยนต์ 2-3 รูป
14.สำเนาสัญญาซื้อขาย/สัญญาวางมัดจำ/สัญญาเช่าซื้อการเคหะฯและหนังสือรับรองยอดคงเหลือ(กรณีซื้อ)
15.สำเนาบัตรประชาชน ทะเบียนบ้านของผู้ขาย (รับรองสำเนา)
16.สำเนาหนังสือสัญญากู้เงิน บันทึกต่อท้ายสัญญากู้เงิน
17.สำเนาสัญญาจำนอง
18.ใบเสร็จการผ่อนชำระย้อนหลัง 24 เดือน(กรณีไถ่ถอน)
19.ใบขออนุญาตปลูกสร้าง/รื้อถอนอาคาร
20.แบบแปลน รูปพื้น, ด้านข้างทั้ง 4 ด้าน , ด้านตัดขวาง
21.สำเนาสัญญาจ้างเหมาปลูกสร้าง (กรณีปลูกสร้าง/ต่อเติม) พร้อมสำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้านของผู้รับเหมา
22.หลักฐานการเป็นเจ้าของอาคารเลขที่.....................
23.ใบประมาณราคาค่าปลูกสร้าง
24.สำเนาสัญญาขาย/ให้ ฉบับกรมที่ดิน
25.สำเนาโฉนดที่ดิน/นส.3ก/หนังสือกรรมสิทธิ์ห้องชุด/อช.2(2 ชุด)
ที่มา: ธนาคารอาคารสงเคราะห์
หลักเกฑณ์การปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงิน
ธนาคารอาคารสงเคราะห์
ซื้อ ปลูกสร้าง ต่อเติม/ซ่อมแซมที่อยู่อาศัยพร้อมกับขอกู้เพื่ออุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
1. วัตถุประสงค์การกู้
เพื่อซื้อที่ดินพร้อมอาคาร หรือห้องชุด พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
เพื่อปลูกสร้างอาคาร หรือเพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคาร พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
เพื่อต่อเติม หรือขยาย หรือซ่อมแซมอาคาร พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
2. วงเงินให้กู้ตามเกณฑ์หลักประกัน
บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และบ้านแฝด
ไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาซื้อขาย
อาคารพาณิชย์
ไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาซื้อขาย
ห้องชุดราคาตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป
ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาซื้อขาย
ห้องชุดราคาต่ำกว่า 1 ล้านบาท
ไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาซื้อขาย
โดยแยกเป็น 2 บัญชี :
บัญชี 1 เพื่อที่อยู่อาศัย ไม่เกินเกณฑ์หลักประกันสินเชื่อปกติ
บัญชี 2 เพื่ออุปกรณ์ฯ วงเงินกู้เมื่อรวมกับบัญชี 1 ต้องไม่เกินเกณฑ์หลักประกันข้างต้น
3. ระยะเวลากู้
ไม่เกิน 30 ปี อายุผู้กู้รวมกับระยะเวลากู้ไม่เกิน 70 ปี
4. อัตราดอกเบี้ยเงินกู้
บัญชี 1 เพื่อที่อยู่อาศัย อัตราดอกเบี้ยตามหลักเกณฑ์ ปัจจุบัน
บัญชี 2 เพื่ออุปกรณ์ฯ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลอยตัวตลอด อายุสัญญากู้เงินเท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง MRR ตามประกาศธนาคาร
เงินกู้ซื้อที่ดินพร้อมบ้าน
1. วงเงินให้กู้
ให้กู้ในวงเงินไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และ ไม่เกิน 85% ของราคาซื้อ-ขาย
กรณีซื้ออาคารพาณิชย์ ให้กู้ได้ไม่เกิน 75% ของราคาประเมิน และไม่เกิน
75% ของราคาซื้อขาย
กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือนผู้กู้ และอีก 15 เท่าของรายได้อื่น ๆ
หรือไม่ เกิน 40 เท่าสำหรับอาชีพอิสระ (โดยประมาณ)
2. ระยะเวลาให้กู้
ระยะเวลาให้กู้สูงสุด 30 ปี
อายุของผู้กู้รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้จะต้องไม่เกิน 70 ปี
3. เอกสารประกอบการกู้
คำขอกู้เงิน
เอกสาร
หากมีผู้กู้ร่วม ขอให้ผู้กู้ร่วมมายื่นคำขอกู้พร้อมหลักฐานแสดงรายได้และเอกสาร
ส่วนตัวของแต่ละท่าน
4. ค่าใช้จ่ายในการกู้
ค่าใช้จ่าย ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
กู้ไม่เกิน 500,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 1,700 บาท
กู้ไม่เกิน 500,001 - 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,200 บาท
กู้เกิน 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,500 บาท
ค่าตรวจสอบผลงานการก่อสร้าง ต่อเติม หรือ ซ่อมแซม ครั้งละ 600 บาท
ค่าดำเนินการเพื่อขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมจำนอง
รายละ 500 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ
รายละ 600 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตปริมณฑล (หรือมากกว่านี้ตามที่ธนาคารเห็นสมควร)
ชำระในวันนัดทำนิติกรรม
ค่าใช้จ่าย ณ สำนักงานที่ดิน ในวันทำนิติกรรมจำนอง (จ่ายกับสำนักงานที่ดิน)
ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง 1% ของจำนวนเงินกู้
ธนาคารกรุงไทย
อัตราดอกเบี้ย
พิเศษ... สำหรับคุณที่ต้องการมีบ้าน เพื่อสร้างอนาคตร่วมกันให้กับทุกคนในครอบครัว ธนาคารกรุงไทยขอเสนอ
อัตราดอกเบี้ยดังนี้
-
กรณีลูกค้าทั่วไป
:
คงที่ 1 ปี 4.75 % หลังจากนั้น MLR-0.25 %
-
กรณี Project Finanace
:
คงที่ 1 ปี 4.25 % หลังจากนั้น MLR-0.25 %
สิทธิพิเศษ
- ให้กู้สินเชื่อกรุงไทยเพิ่มสุข เพื่อซื้อเครื่องอุปโภค เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการกู้ ค่าตกแต่งบ้าน หรือค่าใช้จ่ายอื่นๆ ซึ่งเมื่อรวมกับวงเงินกู้สินเชื่อกรุงไทยเคหะแล้วไม่เกิน 95% ของราคาประเมินฯ หรือราคาซื้อขายจริง
- ให้กู้สินเชื่อกรุงไทยเพิ่มสุข เพื่อชำระค่าเบี้ยประกันชีวิต (MRTA) ซึ่งเมื่อรวมกับวงเงินกู้สินเชื่อกรุงไทย
เคหะ แล้วไม่เกิน 100%
- คิดดอกเบี้ยอัตราร้อยละ MLR ทุกวงเงิน
คุณสมบัติของผู้กู้
- มีอาชีพมั่นคง หรือมีรายได้ประจำแน่นอน
- กรณี Refinance ต้องมีประวัติการผ่อนชำระดี
- อายุของผู้กู้ เมื่อรวมกับระยะเวลาในการผ่อนชำระต้องไม่เกิน 65 ปี
ประเภทบริการ
- เพื่อซื้อบ้าน, อาคารชุด, ทาวน์เฮ้าส์ หรืออาคารพาณิชย์
- เพื่อปลูกสร้างบ้าน ปรับปรุง ต่อเติมหรือซ่อมแซมที่อยู่อาศัยของตนเอง
- เพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างบ้าน หรือไถ่ถอนที่ดิน จากธนาคารหรือสถาบันการเงินอื่น พร้อมปลูกสร้างบ้าน
ในคราวเดียวกัน
- Refinance
เงื่อนไขการให้บริการ
- กรณีราคาซื้อขายไม่ถึง 10 ล้านบาท วงเงินกู้สูงสุด 90 % ของราคาประเมินหลักประกัน หรือราคาซื้อขายจริงแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ยกเว้น กรณีซื้อห้องชุดในอาคารชุดให้วงเงินกู้สูงสุด 80% ของราคาประเมินหรือราคาซื้อขายแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า
- กรณีราคาซื้อขายตั้งแต่ 10 ล้านบาท วงเงินกู้สูงสุด 70 % ของราคาซื้อขาย
- ระยะเวลาการให้กู้ 30 ปี
เอกสารประกอบการขอกู้
- สำเนาบัตรประชาชน/ บัตรข้าราชการ / ใบเปลี่ยนชื่อ - สกุล (ถ้ามี) (ผู้กู้และคู่สมรส)
- สำเนาทะเบียนบ้านทุกหน้า
- ทะเบียนสมรส / ทะเบียนหย่า (ถ้ามี)/ใบมรณะบัตร (กรณีคู่สมรสเสียชีวิต)
- สัญญาจะซื้อจะขาย และสำเนาโฉนดที่ดิน (ทุกหน้าขนาดเท่าจริง)
- สัญญาจะซื้อจะขาย, สัญญาว่าจ้าง, แบบแปลนการก่อสร้าง, ใบอนุญาตก่อสร้าง (กรณีปลูกสร้าง)
- หลักฐานแสดงรายการเดินบัญชีทุกประเภทบัญชีที่มีย้อนหลัง 6 เดือน
- ใบรับรองเงินเดือนหรือใบแสดงรายได้เดือนสุดท้าย (กรณีเป็นผู้มีรายได้ประจำ / เงินเดือน)
- ทะเบียนการค้า / หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (กรณีประกอบธุรกิจส่วนตัว)
- ใบเสร็จชำระเงินการผ่อนชำระ 3 เดือนสุดท้ายของสถาบันการเงินเดิม, สัญญากู้, สัญญาจำนองหลักทรัพย์ กรณีไถ่ถอนฯ
- ใบเสร็จรับเงินการผ่อนชำระเงินดาวน์
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่บมจ. ธนาคารกรุงไทย ทุกสาขาทั่วประเทศ
ฝ่ายบริหารผลิตภัณฑ์เพื่อที่อยู่อาศัย โทร. 0 2208 8356-8
หรือที่ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ (www.contactcenter.ktb.co.th) หรือโทร. 1551
สินเชื่อธนาคารไทยพาณิชย์
เป็นบริการสินเชื่อที่ธนาคารให้กู้ยืมแก่ลูกค้าที่มีวัตถุประสงค์เพื่อนำไปซื้อหรือ ซ่อมแซมที่อยู่อาศัย
โดยมีการผ่อนชำระคืนเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายเดือน
เท่าๆ กันทุกเดือนตามระยะเวลา อัตราดอกเบี้ย และเงื่อนไขตามที่ธนาคารกำหนด
วัตถุประสงค์ในการกู้ยืม
• การซื้อหรือสร้างบ้าน ทาวน์เฮาส์ อาคารพาณิชย์หรือสร้างบ้าน
บนที่ดินที่มีอยู่
• การซื้ออาคารชุดคอนโดมิเนียม การตกแต่ง ซ่อมแซมที่อยู่อาศัย
• ซื้อที่ดินเพิ่มเติมต่อจากที่ใช้อาศัยการซื้อที่ดินว่างเปล่าหรือสวนเกษตร
เพื่อสร้างบ้าน
ประเภทสินเชื่อที่ให้บริการ
• สินเชื่อเพื่อการเคหะในโครงการ (MORTGAGE FINANCE) ที่ธนาคาร
สนับสนุนรายละเอียดเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในแต่ละโครงการ
• สินเชื่อเพื่อการเคหะนอกโครงการที่ธนาคารสนับสนุน
เงื่อนไข/จุดเด่นบริการ
• วงเงินกู้สูงสุด 85% ของราคาประเมิน
• สามารถกู้เพิ่มอีก 10% ของราคาซื้อขายในกรณีซื้อบ้านที่ธนาคาร
สนับสนุน
• สามารถกู้เพิ่มอีก 5 % ของราคาประเมินเพื่อซื้อเครื่องอุปโภคบริโภค
เพื่ออำนวยสุขในบ้าน
• สามารถขอวงเงินกู้เพื่อชำระค่าเบี้ยประกันของ "บริการประกันสุข"
ได้แก่ กลุ่มประกันชีวิต, กลุ่มประกันสุขภาพและกลุ่มประกันทรัพย์สิน
• อัตราดอกเบี้ยเท่ากับ MLR หรืออัตราดอกเบี้ยคงที่
• ผ่อนนานถึง 30 ปี
• ทำประกันอัคคีภัย พิทักษ์ภัย ได้ตั้งแต่ 1 - 30 ปี
คุณค่าพิเศษ
• บริการประกันชีวิต "เคหะบริการ" และ "พิทักษ์สิน" คิดอัตราค่าเบี้ย
ประกันต่ำเป็นพิเศษและสามารถขอวงเงินกู้เพิ่มเติมได้
• บริการ ในกลุ่มประกันสุขได้แก่ พิทักษ์สุข, รักษ์สุข, พิทักษ์บ้าน
,พิทักษ์ภัย และพิทักษ์มะเร็ง
หลักเกณฑ์การให้บริการ
• อายุ 20 ปีขึ้นไป และอายุของผู้กู้เมื่อรวมกับจำนวนปีที่ขอกู้ไม่ควร
เกิน 60 ปี
• อาชีพ ลูกค้าจะต้องมีการงานที่มั่นคง
• รายได้ มีรายได้แน่นอน และต้องสูงกว่าอัตราผ่อนชำระในแต่ละงวด
ประมาณ 3 เท่า
หลักฐานในการขอสินเชื่อ
• เอกสารส่วนตัว ได้แก่ สำเนาบัตรประชาชนหรือบัตรข้าราชการ,
สำเนาทะเบียนบ้าน, สำเนาทะเบียนสมรส (ถ้ามี) ทั้งของผู้กู้และคู่สมรส
• เอกสารทางการเงิน ได้แก่ ใบรับรองเงินเดือนหรือรายได้
หลักฐานทางการค้า เอกสารการเดินบัญชีย้อนหลัง 6 เดือน
• เอกสารหลักทรัพย์ ได้แก่ สำเนาโฉนดที่ดิน สำเนาสัญญาจะซื้อจะขาย
และแบบแปลนการก่อสร้าง (กรณีปลูกสร้าง)
ที่มา : ฐานข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ
ซื้อ ปลูกสร้าง ต่อเติม/ซ่อมแซมที่อยู่อาศัยพร้อมกับขอกู้เพื่ออุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
1. วัตถุประสงค์การกู้
เพื่อซื้อที่ดินพร้อมอาคาร หรือห้องชุด พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
เพื่อปลูกสร้างอาคาร หรือเพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างอาคาร พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
เพื่อต่อเติม หรือขยาย หรือซ่อมแซมอาคาร พร้อมกับซื้อหรือจัดให้มีอุปกรณ์หรือสิ่งอำนวยความสะดวกฯ
2. วงเงินให้กู้ตามเกณฑ์หลักประกัน
บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และบ้านแฝด
ไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 95 ของราคาซื้อขาย
อาคารพาณิชย์
ไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 85 ของราคาซื้อขาย
ห้องชุดราคาตั้งแต่ 1 ล้านบาทขึ้นไป
ไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 90 ของราคาซื้อขาย
ห้องชุดราคาต่ำกว่า 1 ล้านบาท
ไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาประเมิน และไม่เกินร้อยละ 80 ของราคาซื้อขาย
โดยแยกเป็น 2 บัญชี :
บัญชี 1 เพื่อที่อยู่อาศัย ไม่เกินเกณฑ์หลักประกันสินเชื่อปกติ
บัญชี 2 เพื่ออุปกรณ์ฯ วงเงินกู้เมื่อรวมกับบัญชี 1 ต้องไม่เกินเกณฑ์หลักประกันข้างต้น
3. ระยะเวลากู้
ไม่เกิน 30 ปี อายุผู้กู้รวมกับระยะเวลากู้ไม่เกิน 70 ปี
4. อัตราดอกเบี้ยเงินกู้
บัญชี 1 เพื่อที่อยู่อาศัย อัตราดอกเบี้ยตามหลักเกณฑ์ ปัจจุบัน
บัญชี 2 เพื่ออุปกรณ์ฯ อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลอยตัวตลอด อายุสัญญากู้เงินเท่ากับอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง MRR ตามประกาศธนาคาร
เงินกู้ซื้อที่ดินพร้อมบ้าน
1. วงเงินให้กู้
ให้กู้ในวงเงินไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และ ไม่เกิน 85% ของราคาซื้อ-ขาย
กรณีซื้ออาคารพาณิชย์ ให้กู้ได้ไม่เกิน 75% ของราคาประเมิน และไม่เกิน
75% ของราคาซื้อขาย
กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือนผู้กู้ และอีก 15 เท่าของรายได้อื่น ๆ
หรือไม่ เกิน 40 เท่าสำหรับอาชีพอิสระ (โดยประมาณ)
2. ระยะเวลาให้กู้
ระยะเวลาให้กู้สูงสุด 30 ปี
อายุของผู้กู้รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้จะต้องไม่เกิน 70 ปี
3. เอกสารประกอบการกู้
คำขอกู้เงิน
เอกสาร
หากมีผู้กู้ร่วม ขอให้ผู้กู้ร่วมมายื่นคำขอกู้พร้อมหลักฐานแสดงรายได้และเอกสาร
ส่วนตัวของแต่ละท่าน
4. ค่าใช้จ่ายในการกู้
ค่าใช้จ่าย ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
กู้ไม่เกิน 500,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 1,700 บาท
กู้ไม่เกิน 500,001 - 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,200 บาท
กู้เกิน 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,500 บาท
ค่าตรวจสอบผลงานการก่อสร้าง ต่อเติม หรือ ซ่อมแซม ครั้งละ 600 บาท
ค่าดำเนินการเพื่อขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมจำนอง
รายละ 500 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ
รายละ 600 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตปริมณฑล (หรือมากกว่านี้ตามที่ธนาคารเห็นสมควร)
ชำระในวันนัดทำนิติกรรม
ค่าใช้จ่าย ณ สำนักงานที่ดิน ในวันทำนิติกรรมจำนอง (จ่ายกับสำนักงานที่ดิน)
ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง 1% ของจำนวนเงินกู้
ธนาคารกรุงไทย
อัตราดอกเบี้ย
พิเศษ... สำหรับคุณที่ต้องการมีบ้าน เพื่อสร้างอนาคตร่วมกันให้กับทุกคนในครอบครัว ธนาคารกรุงไทยขอเสนอ
อัตราดอกเบี้ยดังนี้
-
กรณีลูกค้าทั่วไป
:
คงที่ 1 ปี 4.75 % หลังจากนั้น MLR-0.25 %
-
กรณี Project Finanace
:
คงที่ 1 ปี 4.25 % หลังจากนั้น MLR-0.25 %
สิทธิพิเศษ
- ให้กู้สินเชื่อกรุงไทยเพิ่มสุข เพื่อซื้อเครื่องอุปโภค เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการกู้ ค่าตกแต่งบ้าน หรือค่าใช้จ่ายอื่นๆ ซึ่งเมื่อรวมกับวงเงินกู้สินเชื่อกรุงไทยเคหะแล้วไม่เกิน 95% ของราคาประเมินฯ หรือราคาซื้อขายจริง
- ให้กู้สินเชื่อกรุงไทยเพิ่มสุข เพื่อชำระค่าเบี้ยประกันชีวิต (MRTA) ซึ่งเมื่อรวมกับวงเงินกู้สินเชื่อกรุงไทย
เคหะ แล้วไม่เกิน 100%
- คิดดอกเบี้ยอัตราร้อยละ MLR ทุกวงเงิน
คุณสมบัติของผู้กู้
- มีอาชีพมั่นคง หรือมีรายได้ประจำแน่นอน
- กรณี Refinance ต้องมีประวัติการผ่อนชำระดี
- อายุของผู้กู้ เมื่อรวมกับระยะเวลาในการผ่อนชำระต้องไม่เกิน 65 ปี
ประเภทบริการ
- เพื่อซื้อบ้าน, อาคารชุด, ทาวน์เฮ้าส์ หรืออาคารพาณิชย์
- เพื่อปลูกสร้างบ้าน ปรับปรุง ต่อเติมหรือซ่อมแซมที่อยู่อาศัยของตนเอง
- เพื่อซื้อที่ดินพร้อมปลูกสร้างบ้าน หรือไถ่ถอนที่ดิน จากธนาคารหรือสถาบันการเงินอื่น พร้อมปลูกสร้างบ้าน
ในคราวเดียวกัน
- Refinance
เงื่อนไขการให้บริการ
- กรณีราคาซื้อขายไม่ถึง 10 ล้านบาท วงเงินกู้สูงสุด 90 % ของราคาประเมินหลักประกัน หรือราคาซื้อขายจริงแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า ยกเว้น กรณีซื้อห้องชุดในอาคารชุดให้วงเงินกู้สูงสุด 80% ของราคาประเมินหรือราคาซื้อขายแล้วแต่ราคาใดจะต่ำกว่า
- กรณีราคาซื้อขายตั้งแต่ 10 ล้านบาท วงเงินกู้สูงสุด 70 % ของราคาซื้อขาย
- ระยะเวลาการให้กู้ 30 ปี
เอกสารประกอบการขอกู้
- สำเนาบัตรประชาชน/ บัตรข้าราชการ / ใบเปลี่ยนชื่อ - สกุล (ถ้ามี) (ผู้กู้และคู่สมรส)
- สำเนาทะเบียนบ้านทุกหน้า
- ทะเบียนสมรส / ทะเบียนหย่า (ถ้ามี)/ใบมรณะบัตร (กรณีคู่สมรสเสียชีวิต)
- สัญญาจะซื้อจะขาย และสำเนาโฉนดที่ดิน (ทุกหน้าขนาดเท่าจริง)
- สัญญาจะซื้อจะขาย, สัญญาว่าจ้าง, แบบแปลนการก่อสร้าง, ใบอนุญาตก่อสร้าง (กรณีปลูกสร้าง)
- หลักฐานแสดงรายการเดินบัญชีทุกประเภทบัญชีที่มีย้อนหลัง 6 เดือน
- ใบรับรองเงินเดือนหรือใบแสดงรายได้เดือนสุดท้าย (กรณีเป็นผู้มีรายได้ประจำ / เงินเดือน)
- ทะเบียนการค้า / หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (กรณีประกอบธุรกิจส่วนตัว)
- ใบเสร็จชำระเงินการผ่อนชำระ 3 เดือนสุดท้ายของสถาบันการเงินเดิม, สัญญากู้, สัญญาจำนองหลักทรัพย์ กรณีไถ่ถอนฯ
- ใบเสร็จรับเงินการผ่อนชำระเงินดาวน์
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่บมจ. ธนาคารกรุงไทย ทุกสาขาทั่วประเทศ
ฝ่ายบริหารผลิตภัณฑ์เพื่อที่อยู่อาศัย โทร. 0 2208 8356-8
หรือที่ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ (www.contactcenter.ktb.co.th) หรือโทร. 1551
สินเชื่อธนาคารไทยพาณิชย์
เป็นบริการสินเชื่อที่ธนาคารให้กู้ยืมแก่ลูกค้าที่มีวัตถุประสงค์เพื่อนำไปซื้อหรือ ซ่อมแซมที่อยู่อาศัย
โดยมีการผ่อนชำระคืนเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยเป็นรายเดือน
เท่าๆ กันทุกเดือนตามระยะเวลา อัตราดอกเบี้ย และเงื่อนไขตามที่ธนาคารกำหนด
วัตถุประสงค์ในการกู้ยืม
• การซื้อหรือสร้างบ้าน ทาวน์เฮาส์ อาคารพาณิชย์หรือสร้างบ้าน
บนที่ดินที่มีอยู่
• การซื้ออาคารชุดคอนโดมิเนียม การตกแต่ง ซ่อมแซมที่อยู่อาศัย
• ซื้อที่ดินเพิ่มเติมต่อจากที่ใช้อาศัยการซื้อที่ดินว่างเปล่าหรือสวนเกษตร
เพื่อสร้างบ้าน
ประเภทสินเชื่อที่ให้บริการ
• สินเชื่อเพื่อการเคหะในโครงการ (MORTGAGE FINANCE) ที่ธนาคาร
สนับสนุนรายละเอียดเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในแต่ละโครงการ
• สินเชื่อเพื่อการเคหะนอกโครงการที่ธนาคารสนับสนุน
เงื่อนไข/จุดเด่นบริการ
• วงเงินกู้สูงสุด 85% ของราคาประเมิน
• สามารถกู้เพิ่มอีก 10% ของราคาซื้อขายในกรณีซื้อบ้านที่ธนาคาร
สนับสนุน
• สามารถกู้เพิ่มอีก 5 % ของราคาประเมินเพื่อซื้อเครื่องอุปโภคบริโภค
เพื่ออำนวยสุขในบ้าน
• สามารถขอวงเงินกู้เพื่อชำระค่าเบี้ยประกันของ "บริการประกันสุข"
ได้แก่ กลุ่มประกันชีวิต, กลุ่มประกันสุขภาพและกลุ่มประกันทรัพย์สิน
• อัตราดอกเบี้ยเท่ากับ MLR หรืออัตราดอกเบี้ยคงที่
• ผ่อนนานถึง 30 ปี
• ทำประกันอัคคีภัย พิทักษ์ภัย ได้ตั้งแต่ 1 - 30 ปี
คุณค่าพิเศษ
• บริการประกันชีวิต "เคหะบริการ" และ "พิทักษ์สิน" คิดอัตราค่าเบี้ย
ประกันต่ำเป็นพิเศษและสามารถขอวงเงินกู้เพิ่มเติมได้
• บริการ ในกลุ่มประกันสุขได้แก่ พิทักษ์สุข, รักษ์สุข, พิทักษ์บ้าน
,พิทักษ์ภัย และพิทักษ์มะเร็ง
หลักเกณฑ์การให้บริการ
• อายุ 20 ปีขึ้นไป และอายุของผู้กู้เมื่อรวมกับจำนวนปีที่ขอกู้ไม่ควร
เกิน 60 ปี
• อาชีพ ลูกค้าจะต้องมีการงานที่มั่นคง
• รายได้ มีรายได้แน่นอน และต้องสูงกว่าอัตราผ่อนชำระในแต่ละงวด
ประมาณ 3 เท่า
หลักฐานในการขอสินเชื่อ
• เอกสารส่วนตัว ได้แก่ สำเนาบัตรประชาชนหรือบัตรข้าราชการ,
สำเนาทะเบียนบ้าน, สำเนาทะเบียนสมรส (ถ้ามี) ทั้งของผู้กู้และคู่สมรส
• เอกสารทางการเงิน ได้แก่ ใบรับรองเงินเดือนหรือรายได้
หลักฐานทางการค้า เอกสารการเดินบัญชีย้อนหลัง 6 เดือน
• เอกสารหลักทรัพย์ ได้แก่ สำเนาโฉนดที่ดิน สำเนาสัญญาจะซื้อจะขาย
และแบบแปลนการก่อสร้าง (กรณีปลูกสร้าง)
ที่มา : ฐานข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ
คำนวณวงเงินที่คุณสามารถกู้ได้ และยอดที่ต้องผ่อนชำระต่อเดือน
คำนวณวงเงินที่คุณสามารถกู้ได้ และยอดที่ต้องผ่อนชำระต่อเดือน. รายได้ขั้นต่ำต่อเดือน. บาทต่อเดือน. รายได้พิเศษอื่นๆ (ถ้ามี). บาทต่อเดือน. ระยะเวลากู้. ปี. อัตราดอกเบี้ย. % ต่อปี
Click ลิงค์
http://www.homedd.com/HomeddWeb/homedd/A_home_financing/frontweb/calculator_one.jsp
ที่มา: http://www.homedd.com
Click ลิงค์
http://www.homedd.com/HomeddWeb/homedd/A_home_financing/frontweb/calculator_one.jsp
ที่มา: http://www.homedd.com
หลักเกณฑ์การขอสินเชื่อซื้อบ้าน
ในปัจจุบันปัญหาการขอสินเชื่อซื้อบ้านไม่ผ่านเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งกำลังกลายเป็นผลกระทบทั้งผู้ปริโภคและผู้ประกอบการ โดยผู้บริโภคจะเกิดปัญหาซื้อบ้านไม่ได้หรืออาจต้องเสียเงินจองและเงินทำสัญญาไปฟรีๆ ในกรณีที่ผู้ซื้อบ้าน กู้ไม่ผ่านเนื่องจากภาวะอัตราดอกเบี้ยในช่วงก่อนหน้านี้ปรับตัวขึ้นไป 2-3% ทำให้ความสามารถในการกู้ซื้อบ้านของผู้บริโภคลดลงมาก
ในปัจจุบันดอกเบี้ยได้เริ่มปรับลดลงซึ่งในเดือนเมษายนนี้อาจจะมีข่าวดีปรับลดลงของดอกเบี้ยอีก 0.25% ก็เป็นไปได้ อย่างไรก็ตามผู้ที่กำลังคิดจะซื้อบ้านในเร็ววันนี้ ต้องมีการเตรียมพร้อมในการขอสินเชื่อไว้ล่วงหน้าด้วย เริ่มตั้งแต่การตรวจสอบเครดิตของตนเองให้ชัดเจน เพราะบางทีอาจมีหนี้สินคงค้างโดยที่ไม่รู้ตัวอาทิ ค่าโทรศัพท์ บัตรเครดิต บัตรผ่อนสินค้า
ซึ่งต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลให้เกิดปัญหาในการขอกู้ได้ รวมทั้งเตรียมความพร้อมในเครดิตของตนเองและผู้ร่วมกู้ให้ดี โดยเดินบัญชีให้มีรายรับรายจ่ายที่เหมาะสม สม่ำเสมอ และที่สำคัญคือ ใช้เป็นหลักฐานที่พิสูจน์ได้ชัดเจน การซื้อบ้านเป็นของที่แพงที่สุดในชีวิตของคนเรา ดังนั้นควรเตรียมความพร้อมให้ดีก่อนจะทำการขอสินเชื่อ
เงินกู้ซื้อที่ดินพร้อมบ้าน สำหรับผู้ที่มีความประสงค์ต้องการขอสินเชื่อซื้อบ้านต้องศึกษาข้อมูลดังต่อไปนี้
1. วงเงินให้กู้
1. ให้กู้ในวงเงินไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และ ไม่เกิน 85% ของราคาซื้อขาย
2. กรณีซื้ออาคารพาณิชย์ ให้กู้ได้ไม่เกิน 75% ของราคาประเมิน และไม่เกิน 75% ของราคาซื้อขาย
3. กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือนผู้กู้ และอีก 15 เท่าของรายได้อื่น ๆ หรือไม่ เกิน 40 เท่าสำหรับอาชีพอิสระ (โดยประมาณ)
หมายเหตุ :
กรณีหลักประกันเป็นอาคารพาณิชย์ไม่เกิน 2 คูหา ให้ใช้อัตราดอกเบี้ยลอยตัวพิเศษ ดังนี้
- กรณีกู้รายย่อย
- ปีที่ 1 เท่ากับ MRR – 1.00
- ปีที่ 2 จนถึงตลอดอายุสัญญา เท่ากับ MRR – 0.50
- กรณีใช้สิทธิสวัสดิการไม่มีเงินฝาก เท่ากับ MRR – 1.00 ตลอดอายุสัญญา ทั้งนี้ ห้ามเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ เป็นอัตราอื่นตลอดอายุสัญญากู้เงิน
- กรณีหลักประกันเป็นอาคารพาณิชย์เกิน 2 คูหา (หากเปิดทะลุถึงกันนับเป็น 1 คูหา) ให้ใช้อัตราดอกเบี้ย ดังนี้
- กรณีกู้รายย่อย เท่ากับ MLR ตลอดอายุสัญญา
- กรณีใช้สิทธิสวัสดิการไม่มีเงินฝาก เท่ากับ MRR ตลอดอายุสัญญา ทั้งนี้ ห้ามเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ เป็นอัตราอื่นตลอดอายุสัญญากู้เงิน
2. ระยะเวลาให้กู้
1. ระยะเวลาให้กู้สูงสุด 30 ปี
2. อายุของผู้กู้รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้จะต้องไม่เกิน 70 ปี
3. เอกสารประกอบการกู้
1. คำขอกู้เงิน
2. เอกสาร
3. หากมีผู้กู้ร่วม ขอให้ผู้กู้ร่วมมายื่นคำขอกู้พร้อมหลักฐานแสดงรายได้และเอกสาร ส่วนตัวของแต่ละท่าน
4. ค่าใช้จ่ายในการกู้
1. ค่าใช้จ่าย ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
- กู้ไม่เกิน 500,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 1,700 บาท
- กู้ไม่เกิน 500,001 - 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,200 บาท
- กู้เกิน 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,500 บาท
ค่าตรวจสอบผลงานการก่อสร้าง ต่อเติม หรือ ซ่อมแซม ครั้งละ 600 บาท
- ค่าดำเนินการเพื่อขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมจำนอง
รายละ 500 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ
รายละ 600 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตปริมณฑล (หรือมากกว่านี้ตามที่ธนาคารเห็นสมควร) ชำระในวันนัดทำนิติกรรม
2. ค่าใช้จ่าย ณ สำนักงานที่ดิน ในวันทำนิติกรรมจำนอง (จ่ายกับสำนักงานที่ดิน)
ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง 1% ของจำนวนเงินกู้
5. วิธีการชำระหนี้เงินกู้
1. ชำระเงินกู้งวดแรก ภายใน 30 วัน นับจากวันที่รับเงินกู้ไปจากธนาคารฯ และ2. ชำระเงินกู้งวด ต่อไปทุกเดือน จนกว่าจะชำระหนี้เสร็จสิ้น โดยมีวิธีชำระเงินกู้ดังต่อไปนี้
- ชำระเป็นเงินสดหรือเช็ค
- ชำระผ่านบัญชีเงินฝากธนาคารอาคารสงเคราะห์
- ชำระโดยวิธีการหักบัญชีเงินฝาก เงินฝากออมทรัพย์ หรือเงินฝากกระแสรายวัน ที่เปิดไว้กับ
- ธนาคารกรุงไทย -หรือ ธนาคารกรุงเทพ -หรือ ธนาคารไทยพาณิชย์ ทุกสาขาทั่วราชอาณาจักร ทั้งนี้ผู้กู้จะต้องนำเงินฝากเข้าบัญชี ก่อนวันที่ 5 ของทุกเดือน
3. ชำระผ่านจุดรับ-จ่ายเงิน (PAY-POINT) และ Pay at Post
4. ชำระผ่านเคาเตอร์ ธนาคารนครหลวงไทย และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ทั่วประเทศ
5. ชำระผ่านที่ทำการไปรษณีย์ทุกแห่งทั่วประเทศ เสียค่าธรรมเนียทรายการล่ะ 10 บาท ไม่เกินรายการล่ะ 50,000 บาท
6. ชำระผ่านเคาน์เตอร์การเงินนอกสถานที่ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ จำนวน 10 แห่ง ได้แก่ แฟชั่นไอส์แลนด์ ศูนย์การค้าฟอร์จูน อิมพีเรียล (สำโรง) ฟิวเจอร์พาร์ค (รังสิต) บิ๊กซี (แจ้งวัฒนะ บางนา) และเดอร์มอลล์ (บางกะปิ บางแค ท่าพระ งามวงศ์วาน)
7. ชำระได้ที่ศูนย์บริการครบวงจร ณ ที่ว่าการอำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองนครปฐม อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ และอำเภทเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
(กรณีชำระในกรุงเทพ เสียค่าธรรมเนียม 10 บาท ต่างจังหวัด 15 บาท)
ข้อมูลจาก http://www.ghb.co.th/
ในปัจจุบันดอกเบี้ยได้เริ่มปรับลดลงซึ่งในเดือนเมษายนนี้อาจจะมีข่าวดีปรับลดลงของดอกเบี้ยอีก 0.25% ก็เป็นไปได้ อย่างไรก็ตามผู้ที่กำลังคิดจะซื้อบ้านในเร็ววันนี้ ต้องมีการเตรียมพร้อมในการขอสินเชื่อไว้ล่วงหน้าด้วย เริ่มตั้งแต่การตรวจสอบเครดิตของตนเองให้ชัดเจน เพราะบางทีอาจมีหนี้สินคงค้างโดยที่ไม่รู้ตัวอาทิ ค่าโทรศัพท์ บัตรเครดิต บัตรผ่อนสินค้า
ซึ่งต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลให้เกิดปัญหาในการขอกู้ได้ รวมทั้งเตรียมความพร้อมในเครดิตของตนเองและผู้ร่วมกู้ให้ดี โดยเดินบัญชีให้มีรายรับรายจ่ายที่เหมาะสม สม่ำเสมอ และที่สำคัญคือ ใช้เป็นหลักฐานที่พิสูจน์ได้ชัดเจน การซื้อบ้านเป็นของที่แพงที่สุดในชีวิตของคนเรา ดังนั้นควรเตรียมความพร้อมให้ดีก่อนจะทำการขอสินเชื่อ
เงินกู้ซื้อที่ดินพร้อมบ้าน สำหรับผู้ที่มีความประสงค์ต้องการขอสินเชื่อซื้อบ้านต้องศึกษาข้อมูลดังต่อไปนี้
1. วงเงินให้กู้
1. ให้กู้ในวงเงินไม่เกิน 85% ของราคาประเมิน และ ไม่เกิน 85% ของราคาซื้อขาย
2. กรณีซื้ออาคารพาณิชย์ ให้กู้ได้ไม่เกิน 75% ของราคาประเมิน และไม่เกิน 75% ของราคาซื้อขาย
3. กู้ได้ไม่เกิน 40 เท่าของเงินเดือนผู้กู้ และอีก 15 เท่าของรายได้อื่น ๆ หรือไม่ เกิน 40 เท่าสำหรับอาชีพอิสระ (โดยประมาณ)
หมายเหตุ :
กรณีหลักประกันเป็นอาคารพาณิชย์ไม่เกิน 2 คูหา ให้ใช้อัตราดอกเบี้ยลอยตัวพิเศษ ดังนี้
- กรณีกู้รายย่อย
- ปีที่ 1 เท่ากับ MRR – 1.00
- ปีที่ 2 จนถึงตลอดอายุสัญญา เท่ากับ MRR – 0.50
- กรณีใช้สิทธิสวัสดิการไม่มีเงินฝาก เท่ากับ MRR – 1.00 ตลอดอายุสัญญา ทั้งนี้ ห้ามเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ เป็นอัตราอื่นตลอดอายุสัญญากู้เงิน
- กรณีหลักประกันเป็นอาคารพาณิชย์เกิน 2 คูหา (หากเปิดทะลุถึงกันนับเป็น 1 คูหา) ให้ใช้อัตราดอกเบี้ย ดังนี้
- กรณีกู้รายย่อย เท่ากับ MLR ตลอดอายุสัญญา
- กรณีใช้สิทธิสวัสดิการไม่มีเงินฝาก เท่ากับ MRR ตลอดอายุสัญญา ทั้งนี้ ห้ามเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ เป็นอัตราอื่นตลอดอายุสัญญากู้เงิน
2. ระยะเวลาให้กู้
1. ระยะเวลาให้กู้สูงสุด 30 ปี
2. อายุของผู้กู้รวมกับจำนวนปีที่ขอกู้จะต้องไม่เกิน 70 ปี
3. เอกสารประกอบการกู้
1. คำขอกู้เงิน
2. เอกสาร
3. หากมีผู้กู้ร่วม ขอให้ผู้กู้ร่วมมายื่นคำขอกู้พร้อมหลักฐานแสดงรายได้และเอกสาร ส่วนตัวของแต่ละท่าน
4. ค่าใช้จ่ายในการกู้
1. ค่าใช้จ่าย ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์
- กู้ไม่เกิน 500,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 1,700 บาท
- กู้ไม่เกิน 500,001 - 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,200 บาท
- กู้เกิน 3,000,000 บาท คิดค่าประเมินหลักประกันแห่งล่ะ 2,500 บาท
ค่าตรวจสอบผลงานการก่อสร้าง ต่อเติม หรือ ซ่อมแซม ครั้งละ 600 บาท
- ค่าดำเนินการเพื่อขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมจำนอง
รายละ 500 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตกรุงเทพมหานคร หรือ
รายละ 600 บาท ณ สำนักงานที่ดินในเขตปริมณฑล (หรือมากกว่านี้ตามที่ธนาคารเห็นสมควร) ชำระในวันนัดทำนิติกรรม
2. ค่าใช้จ่าย ณ สำนักงานที่ดิน ในวันทำนิติกรรมจำนอง (จ่ายกับสำนักงานที่ดิน)
ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนจำนอง 1% ของจำนวนเงินกู้
5. วิธีการชำระหนี้เงินกู้
1. ชำระเงินกู้งวดแรก ภายใน 30 วัน นับจากวันที่รับเงินกู้ไปจากธนาคารฯ และ2. ชำระเงินกู้งวด ต่อไปทุกเดือน จนกว่าจะชำระหนี้เสร็จสิ้น โดยมีวิธีชำระเงินกู้ดังต่อไปนี้
- ชำระเป็นเงินสดหรือเช็ค
- ชำระผ่านบัญชีเงินฝากธนาคารอาคารสงเคราะห์
- ชำระโดยวิธีการหักบัญชีเงินฝาก เงินฝากออมทรัพย์ หรือเงินฝากกระแสรายวัน ที่เปิดไว้กับ
- ธนาคารกรุงไทย -หรือ ธนาคารกรุงเทพ -หรือ ธนาคารไทยพาณิชย์ ทุกสาขาทั่วราชอาณาจักร ทั้งนี้ผู้กู้จะต้องนำเงินฝากเข้าบัญชี ก่อนวันที่ 5 ของทุกเดือน
3. ชำระผ่านจุดรับ-จ่ายเงิน (PAY-POINT) และ Pay at Post
4. ชำระผ่านเคาเตอร์ ธนาคารนครหลวงไทย และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ทั่วประเทศ
5. ชำระผ่านที่ทำการไปรษณีย์ทุกแห่งทั่วประเทศ เสียค่าธรรมเนียทรายการล่ะ 10 บาท ไม่เกินรายการล่ะ 50,000 บาท
6. ชำระผ่านเคาน์เตอร์การเงินนอกสถานที่ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ จำนวน 10 แห่ง ได้แก่ แฟชั่นไอส์แลนด์ ศูนย์การค้าฟอร์จูน อิมพีเรียล (สำโรง) ฟิวเจอร์พาร์ค (รังสิต) บิ๊กซี (แจ้งวัฒนะ บางนา) และเดอร์มอลล์ (บางกะปิ บางแค ท่าพระ งามวงศ์วาน)
7. ชำระได้ที่ศูนย์บริการครบวงจร ณ ที่ว่าการอำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองนครปฐม อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ และอำเภทเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
(กรณีชำระในกรุงเทพ เสียค่าธรรมเนียม 10 บาท ต่างจังหวัด 15 บาท)
ข้อมูลจาก http://www.ghb.co.th/
จะกู้ซื้อบ้านได้สูงสุดเท่าไหร่
สำหรับคนที่กำลังสนใจจะซื้อบ้าน แต่ไม่ได้มีเงินใส่โอ่งฝังไว้หลังบ้าน ให้ขุดขึ้นมาโอนสดได้ ก็ต้องยอมเสียดอกเบี้ยเป็นค่ากู้เงินเขามาใช้ ส่วนคำถามที่เกิดขึ้นตามมากับทุกคนก็คือ
คำตอบแรก ต้องตอบว่าโดยปกติสัดส่วนการขอสินเชื่อบ้านจะอยู่ที่ดาวน์ 20% และกู้หรือขอสินเชื่อรายย่อยจากสถาบันการเงินได้ 80% แต่ถ้าเป็นสถานการณ์ที่เงินล้นธนาคาร ก็อาจเพิ่มสัดส่วนให้เป็นดาวน์ 10% และกู้ 90% ขึ้นอยู่กับสถานการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจในเวลานั้นด้วย
อย่างไรก็ตาม เปอร์เซ็นต์นี้จะคิดจากราคาประเมินโครงการของธนาคาร ซึ่งส่วนใหญ่มักจะต่ำกว่าราคาที่ผู้ขายกำหนดนิดหน่อย นอกจากนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้มีการกำหนดอัตราเงินกู้ที่อยู่อาศัยไว้อยู่แล้วด้วย เช่น บ้านราคา 10 ล้านบาทขึ้นไป ต้องใช้สัดส่วนดาวน์ 30% และขอสินเชื่อ 70% เป็นต้น
คำตอบที่สอง คือ ต้องถามผู้ซื้อเองว่ามีฐานะทางการเงินเป็นอย่างไร เพราะถ้ารายได้ดีก็ขอสินเชื่อรายย่อยได้เต็มวงเงินที่ขอหรือสูงสุดของที่ธนาคารจะอนุมัติสำหรับที่อยู่อาศัยนั้น แต่ถ้ารายได้ของผู้กู้ไม่ถึง แบงก์ก็จะปล่อยกู้ตามที่เห็นสมควรโดยอ้างอิงจากเอกสารแสดงฐานะทางการเงินที่ลูกค้ายื่นไปให้พิจารณา
การคำนวณความสามารถของผู้ซื้อว่าจะขอสินเชื่อรายย่อยได้วงเงินสูงสุดเท่าไร รวมถึงระยะเวลายาวนานที่สุดที่จะขอกู้นั้น ธนาคารจะมีสูตรสำเร็จในการคำนวณอยู่ เริ่มจากคำนวณรายได้รวมต่อเดือน ถ้ามีคู่สมรสหรือผู้กู้ร่วมก็ให้คิดรวมทั้งหมด เช่น ออกมาได้เท่ากับ 120,000 บาทต่อเดือน ให้นำตัวเลขนั้นไปหาร 3 เหลือ 40,000 บาท
จากนั้นก็ดูว่าจะกู้ได้นานที่สุดกี่ปี แต่ละธนาคารอาจมีความยืดหยุ่นแตกต่างกัน เช่น พนักงานบริษัทมีรายได้หลักเป็นเงินเดือนประจำจะให้กู้สูงสุดถึงอายุ 60 ปี ถ้าเป็นเจ้าของธุรกิจอาจให้กู้สูงสุดได้ถึงอายุ 65 ปีซึ่งเอกสารแสดงรายได้ก็จะแตกต่างกัน แต่ส่วนใหญ่แล้วก็จะจำกัดที่อายุ 60 ปีนั่นเอง
ตัวอย่างเช่น ผู้จะขอกู้เป็นพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง ปัจจุบันมีอายุ 27 ปี ก็คือกู้ได้สูงสุด 33 ปี ธนาคารจะตัดที่ 30 ปี จึงหมายความว่าคนอายุยิ่งมาก ระยะเวลาที่จะเหลือกู้ได้ยาวนานก็ยิ่งลดน้อยลง และผู้ขอกู้อายุยังน้อยรายนี้ยังสามารถเลือกที่จะขอกู้ในระยะเวลาที่น้อยกว่า 30 ปีก็ได้
จากนั้นธนาคารจะมีตัวเลขคงที่กำหนดไว้สำหรับอายุแต่ละช่วงปี เช่น กู้ได้ 30 ปี ก็ให้หารด้วยตัวเลขที่กำหนดไว้สำหรับการกู้ 30 ปี คือ 7,200 ได้ตัวเลขออกมาเป็นเท่าไร นั่นคือหลักล้านบาทที่จะสามารถกู้ได้ กรณีนี้เอา 40,000 บาทหารด้วย 7,200 ออกมาเท่ากับ 5.56 ก็คือ 5,560,000 บาท เป็นวงเงินสูงสุดที่จะสามารถกู้ได้อ้างอิงจากฐานรายได้ของผู้ยื่นกู้รายนี้
เมื่อได้วงเงินที่ธนาคารอนุมัติแล้ว ลูกค้ามักจะถามต่อว่าแล้วเดือนหนึ่งจะมีภาระค่างวดเท่าไร ตัวเลขจะออกมาเป็นกี่บาทกี่สตางค์ ซึ่งธนาคารจะมีตัวเลขกำหนดไว้สำหรับการคำนวณอยู่เช่นกัน
ตัวอย่างเช่น ดอกเบี้ยปีแรกที่ธนาคารอนุมัติคือ 4.25% กู้เต็มที่ 30 ปี ก็คูณด้วยตัวเลข 0.0049193 ได้อัตราผ่อนต่อเดือนคือ 27,351 บาทโดยประมาณ ทั้งนี้ เพราะในทางปฏิบัติถึงเวลาผ่อนชำระจริงๆ ตัวเลขที่แบงก์คิดค่างวดออกมามักจะบวกมาเกินกว่านั้นนิดหน่อย เพราะธนาคารต้องประกันความเสี่ยงให้กับตัวเองด้วย แต่ไม่ได้หมายความว่ารวมแล้วลูกค้าจะต้องจ่ายแพงกว่าที่ตกลงกัน เพราะถึงเวลาจริงๆ ยื่นกู้ไว้ 30 ปี ผ่อนจริงๆ 25-27 ปีก็อาจจะหมดหนี้เป็นไทแล้วก็ได้
ตัวอย่างทั้งหมดนี้เป็นการคำนวณจากฐานรายได้แต่ละเดือนเท่านั้น ซึ่งจริงๆ แล้วในการพิจารณาขอสินเชื่อรายย่อย แบงก์ก็อาจพิจารณาเพิ่มเติมจากองค์ประกอบอื่นด้วย ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งคะแนนบวกหรือลบ เช่น หนี้สินเดิม ทรัพย์สินซึ่งถ้าเป็นทรัพย์สินที่ยังไม่ปลอดภาระก็กลายเป็นคะแนนลบ แต่ถ้าปลอดภาระแล้วก็กลายเป็นบวก แต่สิ่งสำคัญที่สุดคือเงินออม ยิ่งมีมากก็ยิ่งดี
ที่มา : หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
คำตอบแรก ต้องตอบว่าโดยปกติสัดส่วนการขอสินเชื่อบ้านจะอยู่ที่ดาวน์ 20% และกู้หรือขอสินเชื่อรายย่อยจากสถาบันการเงินได้ 80% แต่ถ้าเป็นสถานการณ์ที่เงินล้นธนาคาร ก็อาจเพิ่มสัดส่วนให้เป็นดาวน์ 10% และกู้ 90% ขึ้นอยู่กับสถานการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจในเวลานั้นด้วย
อย่างไรก็ตาม เปอร์เซ็นต์นี้จะคิดจากราคาประเมินโครงการของธนาคาร ซึ่งส่วนใหญ่มักจะต่ำกว่าราคาที่ผู้ขายกำหนดนิดหน่อย นอกจากนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้มีการกำหนดอัตราเงินกู้ที่อยู่อาศัยไว้อยู่แล้วด้วย เช่น บ้านราคา 10 ล้านบาทขึ้นไป ต้องใช้สัดส่วนดาวน์ 30% และขอสินเชื่อ 70% เป็นต้น
คำตอบที่สอง คือ ต้องถามผู้ซื้อเองว่ามีฐานะทางการเงินเป็นอย่างไร เพราะถ้ารายได้ดีก็ขอสินเชื่อรายย่อยได้เต็มวงเงินที่ขอหรือสูงสุดของที่ธนาคารจะอนุมัติสำหรับที่อยู่อาศัยนั้น แต่ถ้ารายได้ของผู้กู้ไม่ถึง แบงก์ก็จะปล่อยกู้ตามที่เห็นสมควรโดยอ้างอิงจากเอกสารแสดงฐานะทางการเงินที่ลูกค้ายื่นไปให้พิจารณา
การคำนวณความสามารถของผู้ซื้อว่าจะขอสินเชื่อรายย่อยได้วงเงินสูงสุดเท่าไร รวมถึงระยะเวลายาวนานที่สุดที่จะขอกู้นั้น ธนาคารจะมีสูตรสำเร็จในการคำนวณอยู่ เริ่มจากคำนวณรายได้รวมต่อเดือน ถ้ามีคู่สมรสหรือผู้กู้ร่วมก็ให้คิดรวมทั้งหมด เช่น ออกมาได้เท่ากับ 120,000 บาทต่อเดือน ให้นำตัวเลขนั้นไปหาร 3 เหลือ 40,000 บาท
จากนั้นก็ดูว่าจะกู้ได้นานที่สุดกี่ปี แต่ละธนาคารอาจมีความยืดหยุ่นแตกต่างกัน เช่น พนักงานบริษัทมีรายได้หลักเป็นเงินเดือนประจำจะให้กู้สูงสุดถึงอายุ 60 ปี ถ้าเป็นเจ้าของธุรกิจอาจให้กู้สูงสุดได้ถึงอายุ 65 ปีซึ่งเอกสารแสดงรายได้ก็จะแตกต่างกัน แต่ส่วนใหญ่แล้วก็จะจำกัดที่อายุ 60 ปีนั่นเอง
ตัวอย่างเช่น ผู้จะขอกู้เป็นพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง ปัจจุบันมีอายุ 27 ปี ก็คือกู้ได้สูงสุด 33 ปี ธนาคารจะตัดที่ 30 ปี จึงหมายความว่าคนอายุยิ่งมาก ระยะเวลาที่จะเหลือกู้ได้ยาวนานก็ยิ่งลดน้อยลง และผู้ขอกู้อายุยังน้อยรายนี้ยังสามารถเลือกที่จะขอกู้ในระยะเวลาที่น้อยกว่า 30 ปีก็ได้
จากนั้นธนาคารจะมีตัวเลขคงที่กำหนดไว้สำหรับอายุแต่ละช่วงปี เช่น กู้ได้ 30 ปี ก็ให้หารด้วยตัวเลขที่กำหนดไว้สำหรับการกู้ 30 ปี คือ 7,200 ได้ตัวเลขออกมาเป็นเท่าไร นั่นคือหลักล้านบาทที่จะสามารถกู้ได้ กรณีนี้เอา 40,000 บาทหารด้วย 7,200 ออกมาเท่ากับ 5.56 ก็คือ 5,560,000 บาท เป็นวงเงินสูงสุดที่จะสามารถกู้ได้อ้างอิงจากฐานรายได้ของผู้ยื่นกู้รายนี้
เมื่อได้วงเงินที่ธนาคารอนุมัติแล้ว ลูกค้ามักจะถามต่อว่าแล้วเดือนหนึ่งจะมีภาระค่างวดเท่าไร ตัวเลขจะออกมาเป็นกี่บาทกี่สตางค์ ซึ่งธนาคารจะมีตัวเลขกำหนดไว้สำหรับการคำนวณอยู่เช่นกัน
ตัวอย่างเช่น ดอกเบี้ยปีแรกที่ธนาคารอนุมัติคือ 4.25% กู้เต็มที่ 30 ปี ก็คูณด้วยตัวเลข 0.0049193 ได้อัตราผ่อนต่อเดือนคือ 27,351 บาทโดยประมาณ ทั้งนี้ เพราะในทางปฏิบัติถึงเวลาผ่อนชำระจริงๆ ตัวเลขที่แบงก์คิดค่างวดออกมามักจะบวกมาเกินกว่านั้นนิดหน่อย เพราะธนาคารต้องประกันความเสี่ยงให้กับตัวเองด้วย แต่ไม่ได้หมายความว่ารวมแล้วลูกค้าจะต้องจ่ายแพงกว่าที่ตกลงกัน เพราะถึงเวลาจริงๆ ยื่นกู้ไว้ 30 ปี ผ่อนจริงๆ 25-27 ปีก็อาจจะหมดหนี้เป็นไทแล้วก็ได้
ตัวอย่างทั้งหมดนี้เป็นการคำนวณจากฐานรายได้แต่ละเดือนเท่านั้น ซึ่งจริงๆ แล้วในการพิจารณาขอสินเชื่อรายย่อย แบงก์ก็อาจพิจารณาเพิ่มเติมจากองค์ประกอบอื่นด้วย ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งคะแนนบวกหรือลบ เช่น หนี้สินเดิม ทรัพย์สินซึ่งถ้าเป็นทรัพย์สินที่ยังไม่ปลอดภาระก็กลายเป็นคะแนนลบ แต่ถ้าปลอดภาระแล้วก็กลายเป็นบวก แต่สิ่งสำคัญที่สุดคือเงินออม ยิ่งมีมากก็ยิ่งดี
ที่มา : หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ