· ไม่ควรใช้หลอดอินแคนเดสเซนต์เป็นหลอดหลักในการให้แสงสว่างในสำนักงาน เพราะที่ความส่องสว่างตามมาตรฐานด้วยหลอดประเภทนี้จะรู้สึกจ้า
· ถ้าต้องการมองเห็นสีสันที่แท้จริงของวัตถุ ควรใช้หลอดที่มีดัชนีความถูกต้องของสี CRI (Color Rendering Index) สูงๆ
· ถ้าต้องการมองเห็นวัตถุให้เด่น ไม่ใช่เลือกหลอดที่มีดัชนีความถูกต้องของสี CRI (Color Rendering Index) สูงๆ แต่เลือกหลอดที่ให้สเปกตรัมสีเดียวกับวัตถุมากๆ
· หลอดที่ให้ลำแสงแคบหรือหลอดที่ต้องการใช้เพื่อให้มีความปลอดภัยควรใช้หลอดที่มีแรงดันต่ำ
· หลอดที่ติดตั้งที่เพดานสูงๆควรใช้หลอดที่มีอายุการใช้งานนาน หรือ อาจใช้หลอดที่มีอายุการใช้งานต่ำ เช่น อินแคนเดสเซนต์ แต่ใช้ร่วมกับตัวหรี่ไฟ แต่ถ้าเพดานสูงมากและไม่มีเครื่องไม้เครื่องมือหรือช่างเปลี่ยนให้ก็ควรหันมาใช้การเล่นแสงที่ระดับล่างไม่ว่าจะเป็นไฟส่องขึ้นหรือใช้เป็นไฟกิ่งแทนก็ตาม
· หลอดอินแคนเดสเซนต์อายุการใช้งานสั้น 1000-3000 ชม. แต่มี CRI 100 เปอร์เซนต์
· อายุการใช้งานของหลอดอินแคนเดสเซนต์สั้นลงมากถ้าศักดาไฟฟ้าสูงขึ้น
· หลอด PAR 38 มีมุมแสงสองชนิดคือ 15 และ 30 องศา
· หม้อแปลงหลอดฮาโลเจนแรงดันต่ำไม่ควรอยู่ห่างจากหลอดมาก
· อย่าไปสัมผัสถูกหลอดฮาโลเจนเพราะจะทำให้อายุการใช้งานสั้นลงมาก
· หลอดฟลูออเรสเซนต์ใช้กับสำนักงาน และโรงงานที่มีเพดานสูงไม่เกิน 7 เมตร
· หลอดฟลูออเรสเซนต์เมื่อใช้ในห้องแช่เย็น สตาร์ทยาก และ ปริมาณแสงน้อยลงมาก
· หลอดฟลูออเรสเซนต์เดไลท์เหมาะใช้กับความส่องสว่าง 700 ลักซ์ หรือมากกว่า
· หลอดคูลไวท์เหมาะใช้กับสำนักงานที่มีความส่องสว่าง 500-1000 ลักซ์
· หลอดวอร์มไวท์เหมาะสำหรับงานที่ต้องการความส่องสว่างไม่มากแต่ดูอบอุ่น
· การต่อวงจรLEAD-LAG เพื่อแก้เพาเวอร์แฟคเตอร์ต้องใช้คาปาซิเตอร์ที่มีอัตราแรงดันไม่น้อยกว่า 440 โวลท์
· ถ้านำคาปาซิเตอร์ต่ออนุกรมทุกหลอดไม่ได้ทำให้เพาเวอร์แฟคเตอร์ดีขึ้เลย เพียงแต่เปลี่ยนจาก lagging เป็น leading เท่านั้น
· การหรี่ไฟหลอดคอมแพคท์สามารถทำได้ แต่หลอดต้องใช้บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ และสวิตช์หรี่ไฟต้องเป็นชนิดพิเศษเฉพาะ
· หลอดปรอทความดันสูงใช้แทนหลอดฟลูออเรสเซนต์ เมื่อต้องการวัตต์สูงๆ ใช้ในพื้นที่ที่มีเพดานสูงๆ ใช้ในการส่องบริเวณ ใช้กับไฟถนน
· หลอดโซเดียมความดันสูงมีประสิทธิผลรองจากโซเดียมความดันต่ำ แต่ CRI ดีกว่า
· หลอดโซเดียมความดันสูงมีสีเหลืองทอง ใช้กับถนนที่มีขนาดกลางและใหญ่ ใช้ในโรงงานที่ไม่พิถีพิถันเรื่องสีสันมากนัก ใช้กับไฟส่องปริเวณ และทางเดิน
· หลอดโซเดียมความดันต่ำมีประสิทธิผลมากที่สุด แต่ ความถูกต้องสีน้อยที่สุด
· หลอดโซเดียมความดันต่ำมีสีเหลืองจัด ใช้เป็นไฟถนนที่มีขนาดใหญ่ ใช้เป็นไฟส่องบริเวณเพื่อการรักษาความปลอดภัย
· หลอดเมทัลฮาไลด์ ให้แสงทุกสีเด่น จึงนิยมใช้กับสนามกีฬาที่มีการถ่ายทอดโทรทัศน์
· การใช้หลอดฆ่าเชื้อมีอันตรายต่อตาและผิวหนัง
· การให้แสงเพื่อให้ต้นไม้ใบหญ้าเจริญเติบโตได้ดีต้องมากพอเพื่อให้ขบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) มากกว่าขบวนการการหายใจ(Respiration)
· ย่านความยาวคลื่นที่ดึงดูดแมลงกลางคืนมากที่สุดได้แก่ 310-380 นาโนเมตร
· ปัญหาเรื่องแมลงกลางคืนแก้โดยใช้หลอดสีเหลือง หรือแดงซึ่งไม่มีรังสีอัลตราไวโอเลต
· ถึงแม้ใช้หลอดสีเหลืองหรือแดงเพื่อไม่ดึงดูดแมลงแล้ว การใช้ตัวสะท้อนแสงโดยจำกัดให้แสงสว่างเฉพาะบริเวณที่ต้องการ ไม่เลยออกไปไกลก็ช่วยได้มาก
· การติดตั้งหลอดแบลคไลท์ (Black Light) เพื่อดึงดูดแมลงโดยติดตั้งที่รอบๆอาคารห่างออกไปประมาณ 30-60เมตร ช่วยดักแมลงไว้ไม่ให้ไปที่อาคารได้
· หลอดที่มีอุณหภูมิสีเหมือนกัน เมื่อส่องวัตถุชิ้นเดียวกัน อาจเห็นสีสันของวัตถุเด่นต่างกัน
ที่มา http://www.tieathai.org
คำนวณแสงสว่างภายในบ้าน
ระบบการให้แสงสว่างหลัก คือ การออกแบบระบบแสงสว่างให้มีความส่องสว่าง
เพียงพอตามมาตรฐานเพื่อการใช้งานในแต่ละพื้นที่นั้น ๆ
· ระบบการให้แสงสว่างรอง คือการออกแบบให้มีแสงสว่างให้เกิดความสวยงาม
หรือเน้นเพื่อให้เกิดความสนใจ สบายตา และ อารมณ์
· การให้แสงสว่างที่ดี ควรมีทั้วระบบการให้แสงสว่างหลักและแสงสว่างรอง
การส่องสว่างภายในบ้านอยู่อาศัย
· แสงจากหลอดที่ให้แสงสีเหลืองดูน่าอบอุ่นสำหรับบ้านและโรงแรม
· ความส่องสว่างสำหรับพื้นที่ทั่วไปใช้ 100 - 200 ลักซ์
· โคมไฟส่องลงหลอดGLS 100 วัตต์ที่ความสูงฝ้า 2.4 - 2.7 เมตรติดตั้งห่างกัน
ทุกๆ ระยะ 2 - 2.5 เมตร ให้ความส่องสว่างที่พื้นเฉลี่ย 100 ลักซ์
· ไม่ควรใช้ไฟเกินกว่า 80 % ของอัตราสวิตช์หรี่ไฟ
· การใช้โคมไฟระย้าควรมีโคมไฟชนิดอื่นช่วยให้แสงหลักด้วยเพื่อลดเงาที่เกิดเนื่อง
จากโคมไฟระย้า
· โคมระย้าใช้ 20 -25 วัตต์/ตารางเมตร/ 100 ลักซ์ และควรติดตั้งสวิตช์ไฟหรี่ด้วย
· การใช้โคมไฟระย้าควรระวัง ความสูงฝ้า และ นำหนักโคมระย้า
· โคมระย้าใช้ขนาดประมาณ 1/12 ของเส้นทะแยงมุมห้อง
· ช่องเปิดไฟหรืบควรมีขนาดอย่างน้อย 1/10 ของขนาดเบ้า
· ไฟหรืบฟลูออเสเซนต์ใช้ 8 - 12 วัตต์/ตารางเมตร/ 100 ลักซ์
· การให้แสงสว่างจากหรืบเพื่อส่องสว่างพืนที่ควรมีเพดานสีขาวหรือสีอ่อน
มิฉะนั้นแล้วแสงจากไฟหลืบที่เพดานเป็นสีทึบก็เป็นเพียงไฟตกแต่งเท่านั้น
ที่มา http://www.tieathai.org
เพียงพอตามมาตรฐานเพื่อการใช้งานในแต่ละพื้นที่นั้น ๆ
· ระบบการให้แสงสว่างรอง คือการออกแบบให้มีแสงสว่างให้เกิดความสวยงาม
หรือเน้นเพื่อให้เกิดความสนใจ สบายตา และ อารมณ์
· การให้แสงสว่างที่ดี ควรมีทั้วระบบการให้แสงสว่างหลักและแสงสว่างรอง
การส่องสว่างภายในบ้านอยู่อาศัย
· แสงจากหลอดที่ให้แสงสีเหลืองดูน่าอบอุ่นสำหรับบ้านและโรงแรม
· ความส่องสว่างสำหรับพื้นที่ทั่วไปใช้ 100 - 200 ลักซ์
· โคมไฟส่องลงหลอดGLS 100 วัตต์ที่ความสูงฝ้า 2.4 - 2.7 เมตรติดตั้งห่างกัน
ทุกๆ ระยะ 2 - 2.5 เมตร ให้ความส่องสว่างที่พื้นเฉลี่ย 100 ลักซ์
· ไม่ควรใช้ไฟเกินกว่า 80 % ของอัตราสวิตช์หรี่ไฟ
· การใช้โคมไฟระย้าควรมีโคมไฟชนิดอื่นช่วยให้แสงหลักด้วยเพื่อลดเงาที่เกิดเนื่อง
จากโคมไฟระย้า
· โคมระย้าใช้ 20 -25 วัตต์/ตารางเมตร/ 100 ลักซ์ และควรติดตั้งสวิตช์ไฟหรี่ด้วย
· การใช้โคมไฟระย้าควรระวัง ความสูงฝ้า และ นำหนักโคมระย้า
· โคมระย้าใช้ขนาดประมาณ 1/12 ของเส้นทะแยงมุมห้อง
· ช่องเปิดไฟหรืบควรมีขนาดอย่างน้อย 1/10 ของขนาดเบ้า
· ไฟหรืบฟลูออเสเซนต์ใช้ 8 - 12 วัตต์/ตารางเมตร/ 100 ลักซ์
· การให้แสงสว่างจากหรืบเพื่อส่องสว่างพืนที่ควรมีเพดานสีขาวหรือสีอ่อน
มิฉะนั้นแล้วแสงจากไฟหลืบที่เพดานเป็นสีทึบก็เป็นเพียงไฟตกแต่งเท่านั้น
ที่มา http://www.tieathai.org
การจัดวางดวงไฟในบ้าน
การวางระบบไฟฟ้าภายในบ้าน หลายคนมองข้ามในเรื่องนี้ และไม่ค่อยใส่ใจสักเท่าไหร่ ส่วนใหญ่จะยกให้เป็นหน้าที่ของช่างไฟฟ้า ในทางฮวงจุ้ยเองให้ความสำคัญในเรื่องของแสงสว่างค่อนข้างมาก เพราะบ้านอยู่อาศัย ถือเป็นฮวงจุ้ยคนเป็น "แสงสว่าง" บ่งบอกถึงพลังชีวิต เป็นพลัง หยางที่เคลื่อนไหว และนำโชคลาภมาสู่บ้าน การจัดระบบไฟฟ้าจึงควรใส่ใจสักนิดว่า ควรจะวาง ไฟไว้จุดใดของบ้านบ้าง ซึ่งผมจะไล่เรียงจากหน้าบ้านไปจนถึงภายในบ้านกันเลยนะครับ เพื่อให้มองเห็นง่ายขึ้น ดังนี้
1. ไฟหน้าประตูรั้ว - ควรมีดวงไฟ 2 ดวงวางด้านข้างประตู เปิดทิ้งไว้ในเวลา กลางคืนเพื่อดึงโชคลาภเข้าสู่บ้าน เหตุผลที่ต้องติดไฟ 2 ดวง ก็เพื่อให้เกิดความสมดุล นั่นเอง นอกจากนี้ กรณีที่บริเวณตรงข้ามกับบ้านเป็นบ้านร้าง หรือที่รกร้าง ไฟหน้าบ้านจะช่วยแก้ไขพลังอินชี่ (หยินพิฆาต) ได้เป็นอย่างดีอีกด้วย
2. ไฟหน้าประตูบ้าน - บริเวณทางเข้าบ้าน เป็นจุดที่จะต้องสว่าง เพราะฉะนั้น ควรติดไฟอย่างน้อย 1 ดวง
3. ไฟสนาม - บ้านที่มีพื้นที่ดินมาก แล้วปล่อยว่างเป็นสนาม ควรติดไฟ สนามเพื่อปรับความสมดุลของพื้นที่ เพราะถ้าไม่ติดไฟ เวลากลางคืนสนามจะมืดมาก ก่อสภาพอินชี่ได้
4. ไฟห้องนอน - ไม่ควรใช้ไฟประเภทหลอดเปลือย มองเห็นดวงไฟ ควรจะเป็น ไฟโคมที่กรองแสง หรือ ทำเพดานหลุมเพื่อซ่อนไฟเอาไว้ และห้ามวางตำแหน่งของดวงไฟตรงกับเตียงนอน เพราะ แสงที่สว่างเกินไปจะรบกวนการนอนได้
5. ไฟห้องน้ำ - ควรใช้ไฟที่สว่าง เพราะห้องน้ำมีความชื้นมาก ยิ่งห้องน้ำที่อยู่ใน ตำแหน่งอับทึบ ไม่มีแสงจากธรรมชาติส่องถึง ยิ่งต้องใช้ไฟที่สว่างเป็นพิเศษ เพื่อเผาผลาญเชื้อโรค และไล่ความชื้นให้หมดไป
6. ไฟห้องทำงาน - ห้องทำงานต้องการความกระตือรือร้น มีชีวิตชีวา ไฟในห้องนี้ จึงต้องสว่าง เพราะแสงสว่างจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการเคลื่อนไหว กระฉับกระเฉง ถ้าใช้ไฟสลัว บรรยากาศภาย ในห้องจะทำให้อยากพัก มากกว่าอยากทำงาน
7. ไฟบันได - บันไดก็เป็นอีกจุดหนึ่งที่จะต้องสว่าง เพราะเป็นจุดขึ้น-ลง และมี ความลาดชัน ถ้าบริเวณบันไดไม่ติดดวงไฟ โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุ ลื่นล้ม หรือตกบันไดก็มีมาก
8. ไฟระเบียง - บริเวณระเบียงบ้าน หรือดาดฟ้า ในทางฮวงจุ้ยถือเป็นจุดรับพลัง ชี่ที่ดี การติดไฟไว้บริเวณระเบียงในเวลากลางคืน จึงเป็นตัวชักนำชี่ที่ดีเข้าสู่บ้านได้
การใช้ดวงไฟในการให้แสงสว่างภายในบ้าน ถ้ารู้จักปรับใช้ให้ถูกกับการใช้สอยของแต่ละห้องแต่ละสถานที่ ก็จะช่วยส่งเสริมให้บ้านหลังนั้น มีฮวงจุ้ยที่ดี เป็นบ้านหยางที่มีชีวิตชีวา
ที่มา : nanapaint.com
1. ไฟหน้าประตูรั้ว - ควรมีดวงไฟ 2 ดวงวางด้านข้างประตู เปิดทิ้งไว้ในเวลา กลางคืนเพื่อดึงโชคลาภเข้าสู่บ้าน เหตุผลที่ต้องติดไฟ 2 ดวง ก็เพื่อให้เกิดความสมดุล นั่นเอง นอกจากนี้ กรณีที่บริเวณตรงข้ามกับบ้านเป็นบ้านร้าง หรือที่รกร้าง ไฟหน้าบ้านจะช่วยแก้ไขพลังอินชี่ (หยินพิฆาต) ได้เป็นอย่างดีอีกด้วย
2. ไฟหน้าประตูบ้าน - บริเวณทางเข้าบ้าน เป็นจุดที่จะต้องสว่าง เพราะฉะนั้น ควรติดไฟอย่างน้อย 1 ดวง
3. ไฟสนาม - บ้านที่มีพื้นที่ดินมาก แล้วปล่อยว่างเป็นสนาม ควรติดไฟ สนามเพื่อปรับความสมดุลของพื้นที่ เพราะถ้าไม่ติดไฟ เวลากลางคืนสนามจะมืดมาก ก่อสภาพอินชี่ได้
4. ไฟห้องนอน - ไม่ควรใช้ไฟประเภทหลอดเปลือย มองเห็นดวงไฟ ควรจะเป็น ไฟโคมที่กรองแสง หรือ ทำเพดานหลุมเพื่อซ่อนไฟเอาไว้ และห้ามวางตำแหน่งของดวงไฟตรงกับเตียงนอน เพราะ แสงที่สว่างเกินไปจะรบกวนการนอนได้
5. ไฟห้องน้ำ - ควรใช้ไฟที่สว่าง เพราะห้องน้ำมีความชื้นมาก ยิ่งห้องน้ำที่อยู่ใน ตำแหน่งอับทึบ ไม่มีแสงจากธรรมชาติส่องถึง ยิ่งต้องใช้ไฟที่สว่างเป็นพิเศษ เพื่อเผาผลาญเชื้อโรค และไล่ความชื้นให้หมดไป
6. ไฟห้องทำงาน - ห้องทำงานต้องการความกระตือรือร้น มีชีวิตชีวา ไฟในห้องนี้ จึงต้องสว่าง เพราะแสงสว่างจะช่วยกระตุ้นให้เกิดการเคลื่อนไหว กระฉับกระเฉง ถ้าใช้ไฟสลัว บรรยากาศภาย ในห้องจะทำให้อยากพัก มากกว่าอยากทำงาน
7. ไฟบันได - บันไดก็เป็นอีกจุดหนึ่งที่จะต้องสว่าง เพราะเป็นจุดขึ้น-ลง และมี ความลาดชัน ถ้าบริเวณบันไดไม่ติดดวงไฟ โอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุ ลื่นล้ม หรือตกบันไดก็มีมาก
8. ไฟระเบียง - บริเวณระเบียงบ้าน หรือดาดฟ้า ในทางฮวงจุ้ยถือเป็นจุดรับพลัง ชี่ที่ดี การติดไฟไว้บริเวณระเบียงในเวลากลางคืน จึงเป็นตัวชักนำชี่ที่ดีเข้าสู่บ้านได้
การใช้ดวงไฟในการให้แสงสว่างภายในบ้าน ถ้ารู้จักปรับใช้ให้ถูกกับการใช้สอยของแต่ละห้องแต่ละสถานที่ ก็จะช่วยส่งเสริมให้บ้านหลังนั้น มีฮวงจุ้ยที่ดี เป็นบ้านหยางที่มีชีวิตชีวา
ที่มา : nanapaint.com
การปูพื้นด้วยกระเบื้องเซรามิค
ในปัจจุบัน มีผู้นิยมปูพื้นด้วยกระเบื้องเซรามิคส์มากขึ้นเนื่องจากมีลวดลายต่าง ๆ
มากมายให้ได้เลือกใช้ ตลอดจนหาซื้อได้ง่าย แต่กระเบื้องปูพื้นนั้น นอกจากแฟน ๆ
คนรักบ้านจะต้องพิถีพิถันในการเลือกลวดลายกระเบื้องจนเป็นที่ถูกอกถูกใจแล้ว
สิ่งหนึ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน ก็คือจะต้องพิถีพิถันในการเลือกช่างที่จะมาปูกระเบื้อง
ตลอดจนกลเม็ดเทคนิควิธีในการปูกระเบื้องครับ
ซึ่งมีวิธีปฏิบัติเป็นแนวทางในการปูพื้นกระเบื้องเซรามิคส์ดังนี้ครับ
/>
1.ต้องมั่นใจว่าพื้นที่จะปูกระเบื้องนั้นได้ทำความสะอาดเป็นที่เรียบร้อย ไม่มี
คราบฝุ่น น้ำมัน รอยสกปรกติดอยู่ ตลอดจนไม่ลืมตรวจเช็คระดับพื้น
หรือแนวระนาบของผนังที่จะปูถ้าไม่ได้ระดับ หรือระนาบควรตกแต่ง
หรือปรับให้ได้แนวที่ต้องการ
2. พื้นที่ที่จะปูกระเบื้อง
ต้องแห้ง ไม่มีความชื้น หากเป็นพื้นหรือผนังคอนกรีตนั้น
พื้นที่ที่จะปูกระเบื้องได้ต้องทิ้งไว้ให้แห้งหลังการเทพื้นหรือฉาบ
แล้วอย่างน้อยเป็นเวลา 2-3 สัปดาห์
จนแน่ใจว่าพื้นไม่มีความชื้นแล้วจึงเริ่มลงมือปูกระเบื้องได้ครับ
เพราะหากพื้นที่จะปูกระเบื้องมีความชื้นอยู่จะมีผลทำให้แรงยึดกันระหว่าง
พื้นและวัสดุปูพื้นอ่อนลง สำหรับพื้นชั้นล่างที่อยู่ติดพื้นดิน
ควรรองพื้นด้วยแผ่นพลาสติก
และปูนซีเมนต์ผสมทรายที่จะทำการเทพื้นปรับระดับควรผสมน้ำยากันซึม
เพื่อป้องกันความชื้นซึมขึ้นมาตามร่องยาแนว หรือผิวของกระเบื้อง
3. ในการปูกระเบื้อง นั้น ควรเว้นร่องประมาณ 1-3 ม.ม.
เพื่อป้องกันปัญหาการโก่งแอ่นหลังจากการปูและใช้งาน
ในการปูกระเบื้องในปัจจุบันนั้นมีวัสดุประสานอยู่สองชนิดใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ
ใช้กาวซีเมนต์ หรือปูนซีเมนต์ตามอัตราส่วน (ยกเว้นการปูกระเบื้องทับพื้นเดิม
ซึ่งควรใช้กาวซีเมนต์ชนิดพิเศษปู
หรือใช้น้ำยาที่ช่วยเพิ่มแรงยึดเกาะผสมกับกาวซีเมนต์ทั่วไป
ไม่ควรใช้ปูนซีเมนต์ผสมทรายเพียงอย่างเดียว) ในการปูพื้นกระเบื้องใหม่
แนะนำให้ใช้ปูนกาวซีเมนต์
เนื่องจากมีความแข็งแรงทนทานสามารถยึดเกาะได้ดีรวมทั้งสะดวกและรวดเร็วกว่า ครับ />
เมื่อเตรียมการเป็นที่เรียบร้อยแล้วจึงปูกระเบื้องโดยเริ่มปูจากแนวที่ติด ผนัง 1
แนว จัดกระเบื้องให้ลงตัว และตีแนวกระเบื้องที่ผนัง
(บรรดาช่างมักจะเรียกกรรมวิธีนี้ว่าตีปักเต๊า)
แล้วปูกระเบื้องจากพื้นขึ้นไปถึงจุดที่จะหยุดกระเบื้อง 1 แถว
เพื่อให้กระเบื้องลงตัวไม่เหลือเศษบนและล่าง
เสร็จแล้วจึงปูกระเบื้องตามแนวที่วางไว้ครับ
4.
เมื่อปูกระเบื้องเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จะต้องทิ้งให้ซีเมนต์แห้งอย่างน้อย 24 ช.ม.
แล้วจึงยาแนวโดยปาดตามแนวเฉียงกับร่องกระเบื้อง เพื่อให้ตัวยาแนว
ลงร่องอย่างสม่ำเสมอ(ข้อสำคัญ คือ ต้องไม่ลืมทำความสะอาดร่องระหว่างกระเบื้อง
ก่อนการยาแนวนะครับ) เมื่อยาแนวเป็นที่เรียบร้อย ก็ควรที่จะต้องทิ้งพื้นที่ดังกล่าว
ไว้ 1 อาทิตย์ก่อนการใช้งาน โดยทำความสะอาดกระเบื้อง หลังจากปุเสร็จแล้ว 24-36
ชั่วโมงและหลังจากพื้นกระเบื้องแห้ง ทำการเช็ดผิวของกระเบื้องอีกครั้ง
ด้วยผ้าสะอาด
ที่มาจาก homeloverthai
มากมายให้ได้เลือกใช้ ตลอดจนหาซื้อได้ง่าย แต่กระเบื้องปูพื้นนั้น นอกจากแฟน ๆ
คนรักบ้านจะต้องพิถีพิถันในการเลือกลวดลายกระเบื้องจนเป็นที่ถูกอกถูกใจแล้ว
สิ่งหนึ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน ก็คือจะต้องพิถีพิถันในการเลือกช่างที่จะมาปูกระเบื้อง
ตลอดจนกลเม็ดเทคนิควิธีในการปูกระเบื้องครับ
ซึ่งมีวิธีปฏิบัติเป็นแนวทางในการปูพื้นกระเบื้องเซรามิคส์ดังนี้ครับ
/>
1.ต้องมั่นใจว่าพื้นที่จะปูกระเบื้องนั้นได้ทำความสะอาดเป็นที่เรียบร้อย ไม่มี
คราบฝุ่น น้ำมัน รอยสกปรกติดอยู่ ตลอดจนไม่ลืมตรวจเช็คระดับพื้น
หรือแนวระนาบของผนังที่จะปูถ้าไม่ได้ระดับ หรือระนาบควรตกแต่ง
หรือปรับให้ได้แนวที่ต้องการ
2. พื้นที่ที่จะปูกระเบื้อง
ต้องแห้ง ไม่มีความชื้น หากเป็นพื้นหรือผนังคอนกรีตนั้น
พื้นที่ที่จะปูกระเบื้องได้ต้องทิ้งไว้ให้แห้งหลังการเทพื้นหรือฉาบ
แล้วอย่างน้อยเป็นเวลา 2-3 สัปดาห์
จนแน่ใจว่าพื้นไม่มีความชื้นแล้วจึงเริ่มลงมือปูกระเบื้องได้ครับ
เพราะหากพื้นที่จะปูกระเบื้องมีความชื้นอยู่จะมีผลทำให้แรงยึดกันระหว่าง
พื้นและวัสดุปูพื้นอ่อนลง สำหรับพื้นชั้นล่างที่อยู่ติดพื้นดิน
ควรรองพื้นด้วยแผ่นพลาสติก
และปูนซีเมนต์ผสมทรายที่จะทำการเทพื้นปรับระดับควรผสมน้ำยากันซึม
เพื่อป้องกันความชื้นซึมขึ้นมาตามร่องยาแนว หรือผิวของกระเบื้อง
3. ในการปูกระเบื้อง นั้น ควรเว้นร่องประมาณ 1-3 ม.ม.
เพื่อป้องกันปัญหาการโก่งแอ่นหลังจากการปูและใช้งาน
ในการปูกระเบื้องในปัจจุบันนั้นมีวัสดุประสานอยู่สองชนิดใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ
ใช้กาวซีเมนต์ หรือปูนซีเมนต์ตามอัตราส่วน (ยกเว้นการปูกระเบื้องทับพื้นเดิม
ซึ่งควรใช้กาวซีเมนต์ชนิดพิเศษปู
หรือใช้น้ำยาที่ช่วยเพิ่มแรงยึดเกาะผสมกับกาวซีเมนต์ทั่วไป
ไม่ควรใช้ปูนซีเมนต์ผสมทรายเพียงอย่างเดียว) ในการปูพื้นกระเบื้องใหม่
แนะนำให้ใช้ปูนกาวซีเมนต์
เนื่องจากมีความแข็งแรงทนทานสามารถยึดเกาะได้ดีรวมทั้งสะดวกและรวดเร็วกว่า ครับ />
เมื่อเตรียมการเป็นที่เรียบร้อยแล้วจึงปูกระเบื้องโดยเริ่มปูจากแนวที่ติด ผนัง 1
แนว จัดกระเบื้องให้ลงตัว และตีแนวกระเบื้องที่ผนัง
(บรรดาช่างมักจะเรียกกรรมวิธีนี้ว่าตีปักเต๊า)
แล้วปูกระเบื้องจากพื้นขึ้นไปถึงจุดที่จะหยุดกระเบื้อง 1 แถว
เพื่อให้กระเบื้องลงตัวไม่เหลือเศษบนและล่าง
เสร็จแล้วจึงปูกระเบื้องตามแนวที่วางไว้ครับ
4.
เมื่อปูกระเบื้องเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จะต้องทิ้งให้ซีเมนต์แห้งอย่างน้อย 24 ช.ม.
แล้วจึงยาแนวโดยปาดตามแนวเฉียงกับร่องกระเบื้อง เพื่อให้ตัวยาแนว
ลงร่องอย่างสม่ำเสมอ(ข้อสำคัญ คือ ต้องไม่ลืมทำความสะอาดร่องระหว่างกระเบื้อง
ก่อนการยาแนวนะครับ) เมื่อยาแนวเป็นที่เรียบร้อย ก็ควรที่จะต้องทิ้งพื้นที่ดังกล่าว
ไว้ 1 อาทิตย์ก่อนการใช้งาน โดยทำความสะอาดกระเบื้อง หลังจากปุเสร็จแล้ว 24-36
ชั่วโมงและหลังจากพื้นกระเบื้องแห้ง ทำการเช็ดผิวของกระเบื้องอีกครั้ง
ด้วยผ้าสะอาด
ที่มาจาก homeloverthai
การเลือกซื้อเครื่องสุขภัณฑ์
เครื่องสุขภัณฑ์ เป็นอุปกรณ์สำคัญภายในห้องน้ำที่
ช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้อีกทั้งยังเป็นเฟอร์นิเจอร์ที่ประดับตกแต่ง
ให้ห้องน้ำภายในบ้านมีความสวยงามด้วย
ในการเลือกซื้อเครื่องสุขภัณฑ์นั้นควรคำนึงถึงการใช้งานเป็นหลัก
เนื่องจากอุปกรณ์ภายในห้องน้ำเป็นอุปกรณ์ที่มีการใช้งานระยะยาว
ต้องมีความคงทนแข็งแรงควบคู่ไปกับการออกแบบที่สวยงามเข้ากับห้องน้ำของ คุณ
เพราะหากเครื่องสุขภัณฑ์ชำรุดบ่อยครั้ง
การซ่อมแซมเปลี่ยนแปลงอาจต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณโดยใช่เหตุ
ในการเลือกซื้อโถสุขภัณฑ์นั้นมีการพัฒนาออกมาให้ลดการใช้น้ำลง
จึงช่วยทำให้ประหยัดน้ำได้ถึง 30% ในแต่ละครั้งที่ทำการกดชำระล้าง
นอกจากนี้จะต้องตรวจดูถึงขนาดท่อประปาภายในบ้านที่จะทำการเชื่อมต่อเข้ากับ
โถสุขภัณฑ์ว่ามีขนาดตรงกันหรือไม่ ระยะทางในการวางท่อน้ำทิ้งที่เหมาะสม
อุปกรณ์ประกอบร่วมโถสุขภัณฑ์ที่ช่วยในเรื่องของการกำจัดกลิ่นอันไม่พึง ประสงค์
ก่อนการตัดสินใจซื้อโถสุขภัณฑ์ควรตรวจดูสภาพภายนอกต้องไม่มีร่องรอยแตกร้าว หรือบิ่น
หรือให้ตัวแทนขายผลิตภัณฑ์ห้องน้ำที่มีความเชี่ยวชาญคอยแนะนำและสาธิตการ
ชำระล้างด้วยวิธีต่างๆ เช่น การใส่ทิชชู่ลงไป การใส่เศษผ้าลงไป
และสังเกตดูว่าการชำระล้างเป็นอย่างไรบ้าง
อุปกรณ์ชุดลูกลอยอยู่ในสภาพเรียบร้อยหรือไม่
เพียงเท่านี้คุณก็จะได้เครื่องสุขภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีคุ้มค่าในงบประมาณที่
ต้องสูญเสียไป
ข่าวจาก Thaihomemaster .com
ช่วยอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้อีกทั้งยังเป็นเฟอร์นิเจอร์ที่ประดับตกแต่ง
ให้ห้องน้ำภายในบ้านมีความสวยงามด้วย
ในการเลือกซื้อเครื่องสุขภัณฑ์นั้นควรคำนึงถึงการใช้งานเป็นหลัก
เนื่องจากอุปกรณ์ภายในห้องน้ำเป็นอุปกรณ์ที่มีการใช้งานระยะยาว
ต้องมีความคงทนแข็งแรงควบคู่ไปกับการออกแบบที่สวยงามเข้ากับห้องน้ำของ คุณ
เพราะหากเครื่องสุขภัณฑ์ชำรุดบ่อยครั้ง
การซ่อมแซมเปลี่ยนแปลงอาจต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก ทำให้สิ้นเปลืองงบประมาณโดยใช่เหตุ
ในการเลือกซื้อโถสุขภัณฑ์นั้นมีการพัฒนาออกมาให้ลดการใช้น้ำลง
จึงช่วยทำให้ประหยัดน้ำได้ถึง 30% ในแต่ละครั้งที่ทำการกดชำระล้าง
นอกจากนี้จะต้องตรวจดูถึงขนาดท่อประปาภายในบ้านที่จะทำการเชื่อมต่อเข้ากับ
โถสุขภัณฑ์ว่ามีขนาดตรงกันหรือไม่ ระยะทางในการวางท่อน้ำทิ้งที่เหมาะสม
อุปกรณ์ประกอบร่วมโถสุขภัณฑ์ที่ช่วยในเรื่องของการกำจัดกลิ่นอันไม่พึง ประสงค์
ก่อนการตัดสินใจซื้อโถสุขภัณฑ์ควรตรวจดูสภาพภายนอกต้องไม่มีร่องรอยแตกร้าว หรือบิ่น
หรือให้ตัวแทนขายผลิตภัณฑ์ห้องน้ำที่มีความเชี่ยวชาญคอยแนะนำและสาธิตการ
ชำระล้างด้วยวิธีต่างๆ เช่น การใส่ทิชชู่ลงไป การใส่เศษผ้าลงไป
และสังเกตดูว่าการชำระล้างเป็นอย่างไรบ้าง
อุปกรณ์ชุดลูกลอยอยู่ในสภาพเรียบร้อยหรือไม่
เพียงเท่านี้คุณก็จะได้เครื่องสุขภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีคุ้มค่าในงบประมาณที่
ต้องสูญเสียไป
ข่าวจาก Thaihomemaster .com
หลักในการออกแบบห้องน้ำ
เราสามารถวางแปลนห้องน้ำคร่าวๆ ได้ด้วยการ วาดผังห้องน้ำในสเกลที่เข้ามาตราส่วน
จากนั้นตัดกระดาษเป็นรูปสุขภัณฑ์ต่างๆ แล้วนำมาลองวางดู
และตรวจสอบดูว่าตำแหน่งที่คุณวางสามารถใช้งานได้อย่างคล่องตัวหรือไม่
/> สำหรับห้องน้ำขนาดใหญ่
/> การจะติดตั้งทุกสิ่งลงไปในห้องน้ำขนาดใหญ่ให้ได้ ประโยชน์ใช้สอยสูงสุดต้อง
อาศัย การวางแผนที่ดี เพราะปัญหาส่วนใหญ่คือ
เมื่อจัดวางสุขภัณฑ์แล้วยังคงเกิดพื้นที่ขนาดใหญ่ที่ว่างเปล่ากลางห้อง
นักออกแบบมักจะใช้วิธีดึงอ่างอาบน้ำขึ้นมาเป็นนางเอกของห้อง
โดยการตั้งอ่างอาบน้ำแบบลอยตัวไว้กลางพื้นที่
นอกจากวิธีนี้จะช่วยแก้ความอ้างว้างได้อย่างชะงัดแล้วยังทำให้ห้องดูหรูหรา ขึ้นด้วย
หรือถ้าเตรียมระบบสุขาภิบาลไว้พร้อม
ก็อาจใช้วิธีฝังอ่างอาบน้ำลงในพื้นแทนก็ยังได้
สำหรับห้องน้ำเล็ก />
ในบ้านขนาดเล็กอย่างห้องแถวหรือคอนโดอาจเหลือพื้นที่ห้องน้ำเพียง 2.25
ตรม. ห้องน้ำที่เล็กมากๆ ต้องใช้แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์สูงขึ้นผสานกับความ
ชำนาญในการจัดวางอย่างประหยัดเนื้อที่จึงจะทำให้ดูมีมิติความกว้างยาวที่มาก ขึ้นได้
เพดานที่สูงมากจะยิ่งทำให้ห้องน้ำเล็กดูแคบลงไปอีก
ความสูงในเกณฑ์มาตรฐานที่ไม่ทำให้ห้องน้ำเล็ก กลายเป็นซอกแคบๆ ควรจะอยู่ที่ ประมาณ
2.2-2.4 เมตร อย่าใช้สีเข้มที่เพดานจะทำให้ดูอึดอัด ควรใช้ฝ้าเพดานที่เป็นสีขาว
เพราะจะทำให้ห้องสว่างขึ้นอาจเพิ่มดวงไฟที่ฝ้าเพดานอีก เพื่อลดความรู้สึกคับแคบลง
สีขาวและสีครีม เป็นสียอดนิยมในห้องน้ำเล็ก
ด้วยความเชื่อว่าจะทำให้ห้องน้ำดูสะอาดและกว้าง
แต่ความจริงสีที่สื่อถึงความสะอาดยังมีอีกหลายสี เช่น
สีเขียวอ่อนสร้างความสดชื่นกระปรี้กระเปร่า เป็นต้น
การวางตำแหน่งแสงสว่างที่ดีจะช่วยให้ห้องน้ำเล็กดูสบายขึ้นมาก
ใช้กระจกเงาขนาดใหญ่แต่งผนังและใช้สีโทนอ่อนที่ช่วยทำให้ห้องดูใหญ่ขึ้น อย่างได้ผล
พยายามเลือกใช้สุขภัณฑ์แบบที่ไม่กินเนื้อที่ แต่อย่าใช้ขนาดเล็กจนเกินมาตรฐาน
ขนาดความกว้างยาวของสุขภัณฑ์ที่เหมาะสมแก่การใช้งาน
จะช่วยให้คุณตัดสินใจซื้อสุขภัณฑ์ได้ง่ายขึ้น
-
พื้นที่สำหรับอ่างอาบน้ำความกว้างน้อยที่ สุดเริ่มตั้งแต่ 75 ซม. ยาวเริ่มที่ 1.7
ม.
- พื้นที่สำหรับฝักบัวยืนอาบไม่ควรเล็กว่า 0.90 x 0.90 ม.
-
ขนาดของถาดอาบน้ำสำเร็จรูปไม่ควรเล็กกว่า 0.90 x 0.90 ม.
-
พื้นที่ติดตั้งชักโครกไม่ควรกว้างน้อย กว่า 0.85 ม.
ประตู
เปิดเข้าออกก็อาจเป็นปัญหาสำหรับห้องน้ำขนาดเล็ก เพราะประตูห้องน้ำที่
เปิดเข้าจะต้องการพื้นที่สำหรับวงสวิง
หากจำเป็นอาจต้องใช้ประตูบานเลื่อนที่ประหยัดเนื้อที่ได้ และถ้าไม่หมดทางเลือกจริงๆ
ไม่แนะนำให้ใช้ประตูห้องน้ำในลักษณะเปิดออก
เพราะทำให้เกิดอุบัติเหตุคนข้างในเปิดประตูฟาดหน้าผู้ที่อยู่หน้าห้องได้
/> บทความจาก : Home Simple
จากนั้นตัดกระดาษเป็นรูปสุขภัณฑ์ต่างๆ แล้วนำมาลองวางดู
และตรวจสอบดูว่าตำแหน่งที่คุณวางสามารถใช้งานได้อย่างคล่องตัวหรือไม่
/> สำหรับห้องน้ำขนาดใหญ่
/> การจะติดตั้งทุกสิ่งลงไปในห้องน้ำขนาดใหญ่ให้ได้ ประโยชน์ใช้สอยสูงสุดต้อง
อาศัย การวางแผนที่ดี เพราะปัญหาส่วนใหญ่คือ
เมื่อจัดวางสุขภัณฑ์แล้วยังคงเกิดพื้นที่ขนาดใหญ่ที่ว่างเปล่ากลางห้อง
นักออกแบบมักจะใช้วิธีดึงอ่างอาบน้ำขึ้นมาเป็นนางเอกของห้อง
โดยการตั้งอ่างอาบน้ำแบบลอยตัวไว้กลางพื้นที่
นอกจากวิธีนี้จะช่วยแก้ความอ้างว้างได้อย่างชะงัดแล้วยังทำให้ห้องดูหรูหรา ขึ้นด้วย
หรือถ้าเตรียมระบบสุขาภิบาลไว้พร้อม
ก็อาจใช้วิธีฝังอ่างอาบน้ำลงในพื้นแทนก็ยังได้
สำหรับห้องน้ำเล็ก />
ในบ้านขนาดเล็กอย่างห้องแถวหรือคอนโดอาจเหลือพื้นที่ห้องน้ำเพียง 2.25
ตรม. ห้องน้ำที่เล็กมากๆ ต้องใช้แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์สูงขึ้นผสานกับความ
ชำนาญในการจัดวางอย่างประหยัดเนื้อที่จึงจะทำให้ดูมีมิติความกว้างยาวที่มาก ขึ้นได้
เพดานที่สูงมากจะยิ่งทำให้ห้องน้ำเล็กดูแคบลงไปอีก
ความสูงในเกณฑ์มาตรฐานที่ไม่ทำให้ห้องน้ำเล็ก กลายเป็นซอกแคบๆ ควรจะอยู่ที่ ประมาณ
2.2-2.4 เมตร อย่าใช้สีเข้มที่เพดานจะทำให้ดูอึดอัด ควรใช้ฝ้าเพดานที่เป็นสีขาว
เพราะจะทำให้ห้องสว่างขึ้นอาจเพิ่มดวงไฟที่ฝ้าเพดานอีก เพื่อลดความรู้สึกคับแคบลง
สีขาวและสีครีม เป็นสียอดนิยมในห้องน้ำเล็ก
ด้วยความเชื่อว่าจะทำให้ห้องน้ำดูสะอาดและกว้าง
แต่ความจริงสีที่สื่อถึงความสะอาดยังมีอีกหลายสี เช่น
สีเขียวอ่อนสร้างความสดชื่นกระปรี้กระเปร่า เป็นต้น
การวางตำแหน่งแสงสว่างที่ดีจะช่วยให้ห้องน้ำเล็กดูสบายขึ้นมาก
ใช้กระจกเงาขนาดใหญ่แต่งผนังและใช้สีโทนอ่อนที่ช่วยทำให้ห้องดูใหญ่ขึ้น อย่างได้ผล
พยายามเลือกใช้สุขภัณฑ์แบบที่ไม่กินเนื้อที่ แต่อย่าใช้ขนาดเล็กจนเกินมาตรฐาน
ขนาดความกว้างยาวของสุขภัณฑ์ที่เหมาะสมแก่การใช้งาน
จะช่วยให้คุณตัดสินใจซื้อสุขภัณฑ์ได้ง่ายขึ้น
-
พื้นที่สำหรับอ่างอาบน้ำความกว้างน้อยที่ สุดเริ่มตั้งแต่ 75 ซม. ยาวเริ่มที่ 1.7
ม.
- พื้นที่สำหรับฝักบัวยืนอาบไม่ควรเล็กว่า 0.90 x 0.90 ม.
-
ขนาดของถาดอาบน้ำสำเร็จรูปไม่ควรเล็กกว่า 0.90 x 0.90 ม.
-
พื้นที่ติดตั้งชักโครกไม่ควรกว้างน้อย กว่า 0.85 ม.
ประตู
เปิดเข้าออกก็อาจเป็นปัญหาสำหรับห้องน้ำขนาดเล็ก เพราะประตูห้องน้ำที่
เปิดเข้าจะต้องการพื้นที่สำหรับวงสวิง
หากจำเป็นอาจต้องใช้ประตูบานเลื่อนที่ประหยัดเนื้อที่ได้ และถ้าไม่หมดทางเลือกจริงๆ
ไม่แนะนำให้ใช้ประตูห้องน้ำในลักษณะเปิดออก
เพราะทำให้เกิดอุบัติเหตุคนข้างในเปิดประตูฟาดหน้าผู้ที่อยู่หน้าห้องได้
/> บทความจาก : Home Simple
วิธีการเลือกซื้อโถสุขภัณฑ์
ขั้นตอนที่ 1
แบบระบบ WASH OUT- เป็นส้วมราด หรือส้วมนั่ง ยองใช้น้ำตักราดเพื่อชำระล้าง จึงใช้ปริมาณน้ำน้ อย มีข้อเสียในเรื่องของสุขลักษณะ และการดักกลิ ่น
ขั้นตอนที่ 2
ระบบ WASH DOWN- เป็นส้วมชักโครก หรือส้วม นั่งราบชำระล้างโดยการปล่อยน้ำพุ่งลงจากรอบขอ บโถอย่างแรง และมีปริมาณมากพอ
ขั้นตอนที่ 3
ระบบ SIPHONIC WASH DOWN- มีการพัฒนาคอห่านใ ห้โค้งลาด และความยาวท่อมากขึ้น เพื่อให้เกิดก าลักน้ำ (SIPHON)ชำระล้างโดยการปล่อยน้ำพุ่งลง มาอย่างแรงเหมือนระบบ WASH DOWN
ขั้นตอนที่ 4
ระบบ SIPHON JET- มีการปล่อยน้ำเพื่อชำระล้า งจาก 2 ส่วน คือ ปล่อยลงคอห่าน โดยตรง จากรอบ ขอบโถ และปล่อยจากรูที่เจาะไว้ ตรงด้านหน้าส่วน ล่างของโถ พุ่งตรงเข้าคอห่าน ทำให้เกิดกาลักน้ำไ ด้ดีขึ้น เสียงดังน้อยกว่า มีพื้นผิวน้ำในโถมาก กว่า และท่อคอห่านโตกว่า
ขั้นตอนที่ 5
ระบบ SIPHON VORTEX- มีการปล่อยน้ำจาก 2 ส่ว น เช่นกัน คือ จากรอบขอบโถ และจากการไหลผ่านช่อ งน้ำไหลคล้ายท่อที่มีปลายอยู่ใต้ผิวน้ำ มุมของน้ ำที่ออกมาจะเอียงพอที่จะทำให้เกิดการหมุนของน้ำ ทำให้เกิดกาลักน้ำได้ดียิ่งขึ้นเสียงค่อนข้างเ งียบ นิยมทำเป็นโถแบบพิเศษ ราคาสูง ตัวถังชักโค รก หรือหม้อน้ำ มักจะหล่อเป็นชิ้นเดียวกับโถ จึ งเรียก เป็น สุขภัณฑ์ชิ้นเดียว (ONE PIECE TOILET)
ขั้นตอนที่ 6
การเลือกซื้อ- ขึ้นอยู่กับงบประมาณที่มีเป็นหลั ก แบบที่มีระบบชำระล้างที่มีประสิทธิภาพสูง และ ประหยัดน้ำ ราคาก็ต้องสูง แบบพิเศษที่มีขนาดใ หญ่ นั่งสบาย หรือที่มีการออกแบบให้ดูทันสมัย เ ป็นแนวโมเดิร์น ราคาก็จะสูง สีของโถสุขภัณฑ์ ก็ มีส่วนในการกำหนดราคาด้วย ทั้งนี้สีขาว จะราคา ต่ำที่สุด
ขั้นตอนที่ 7
การตรวจสอบ- ทุกครั้งที่ซื้อต้องไม่ลืมตรวจดูว ่า มีอุปกรณ์ภายในหม้อน้ำ พร้อมคู่มือการติดตั้ งอยู่ครบหรือไม่ สี จะต้องเรียบเป็นสีเดียวกัน และไม่มีรอยด่าง และรอยตำหนิต่างๆ
ที่มา HomePro
แบบระบบ WASH OUT- เป็นส้วมราด หรือส้วมนั่ง ยองใช้น้ำตักราดเพื่อชำระล้าง จึงใช้ปริมาณน้ำน้ อย มีข้อเสียในเรื่องของสุขลักษณะ และการดักกลิ ่น
ขั้นตอนที่ 2
ระบบ WASH DOWN- เป็นส้วมชักโครก หรือส้วม นั่งราบชำระล้างโดยการปล่อยน้ำพุ่งลงจากรอบขอ บโถอย่างแรง และมีปริมาณมากพอ
ขั้นตอนที่ 3
ระบบ SIPHONIC WASH DOWN- มีการพัฒนาคอห่านใ ห้โค้งลาด และความยาวท่อมากขึ้น เพื่อให้เกิดก าลักน้ำ (SIPHON)ชำระล้างโดยการปล่อยน้ำพุ่งลง มาอย่างแรงเหมือนระบบ WASH DOWN
ขั้นตอนที่ 4
ระบบ SIPHON JET- มีการปล่อยน้ำเพื่อชำระล้า งจาก 2 ส่วน คือ ปล่อยลงคอห่าน โดยตรง จากรอบ ขอบโถ และปล่อยจากรูที่เจาะไว้ ตรงด้านหน้าส่วน ล่างของโถ พุ่งตรงเข้าคอห่าน ทำให้เกิดกาลักน้ำไ ด้ดีขึ้น เสียงดังน้อยกว่า มีพื้นผิวน้ำในโถมาก กว่า และท่อคอห่านโตกว่า
ขั้นตอนที่ 5
ระบบ SIPHON VORTEX- มีการปล่อยน้ำจาก 2 ส่ว น เช่นกัน คือ จากรอบขอบโถ และจากการไหลผ่านช่อ งน้ำไหลคล้ายท่อที่มีปลายอยู่ใต้ผิวน้ำ มุมของน้ ำที่ออกมาจะเอียงพอที่จะทำให้เกิดการหมุนของน้ำ ทำให้เกิดกาลักน้ำได้ดียิ่งขึ้นเสียงค่อนข้างเ งียบ นิยมทำเป็นโถแบบพิเศษ ราคาสูง ตัวถังชักโค รก หรือหม้อน้ำ มักจะหล่อเป็นชิ้นเดียวกับโถ จึ งเรียก เป็น สุขภัณฑ์ชิ้นเดียว (ONE PIECE TOILET)
ขั้นตอนที่ 6
การเลือกซื้อ- ขึ้นอยู่กับงบประมาณที่มีเป็นหลั ก แบบที่มีระบบชำระล้างที่มีประสิทธิภาพสูง และ ประหยัดน้ำ ราคาก็ต้องสูง แบบพิเศษที่มีขนาดใ หญ่ นั่งสบาย หรือที่มีการออกแบบให้ดูทันสมัย เ ป็นแนวโมเดิร์น ราคาก็จะสูง สีของโถสุขภัณฑ์ ก็ มีส่วนในการกำหนดราคาด้วย ทั้งนี้สีขาว จะราคา ต่ำที่สุด
ขั้นตอนที่ 7
การตรวจสอบ- ทุกครั้งที่ซื้อต้องไม่ลืมตรวจดูว ่า มีอุปกรณ์ภายในหม้อน้ำ พร้อมคู่มือการติดตั้ งอยู่ครบหรือไม่ สี จะต้องเรียบเป็นสีเดียวกัน และไม่มีรอยด่าง และรอยตำหนิต่างๆ
ที่มา HomePro
ราคางานกระจก-อลูมิเนียม
วัตถุประสงค์ของการให้ข้อมูลการประมาณราคา สำรับการถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง
เพื่อทราบราคาค่าก่อสร้างเบื้องต้นก่อนลงมือก่อสร้างจริง เพื่อจัดเตรียมงบประมาณที่จำเป็นต้องใช้ในงานก่อสร้าง เพื่อตรวจสอบราคาค่าก่อสร้างที่จัดทำโดยผู้รับเหมา ผู้ที่นําราคาวัสดุนี้ไปใช้ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้ใช้ และควรตรวจสอบราคาจากพาณิชย์จังหวัด (ท้องถิ่น)อีกครั้งหนึ่ง
ข้อสังเกต สเปคอลูมิเนียมที่ใช้ตามท้องตลาด ที่แต่ละร้านคิดราคาต่างกัน อาจมาจากอลูมิเนียมที่ใช้หนาไม่เท่ากันดังนี้1.1มม./1.2(มาตราฐาน)/1.3/1.5
มาตรฐานงานกระจก - อลูมิเนียมทั่วไปที่ใช้บ่อย ๆ มีดังนี้
1. ชุดหน้าต่างบานเลื่อน 2 บานพื้นที่ไม่เกิน 100*120ซ.ม.
ไม่มีช่องแสง / ไม่มีกรอบวงกบ / ไม่มีมุ้งลวด
Set A. อลูมิเนียมสีธรรมดา + กระจกใส ราคาชุดละ 3,500 บาท
Set B. อลูมิเนียมสีชาหรือสีทอง+กระจกสีดำราคาชุดละ4,000 บาท
Set C. อลูมิเนียมสีขาว(อบสี)+กระจกเขียวใสหรือใสราคาชุดละ5,000 บาท
Set D. อลูมิเนียมสีดำ + กระจกใส ราคาชุดละ 4,500 บาท
2.ชุดหน้าต่างบานเลื่อน 4 บานพื้นที่ไม่เกิน 110*200 ซ.ม.
ไม่มีช่องแสง/ ไม่มีกรอบวงกบ / ไม่มีมุ้งลวด
Set A. อลูมิเนียมสีธรรมดา + กระจกใส ราคาชุดละ 5,000บาท
Set B. อลูมิเนียมสีชาหรือสีทอง+กระจกสีดำราคาชุดละ 5,500บาท
Set C. อลูมิเนียมสีขาว(อบสี)+กระจกเขียวใสหรือใสราคาชุดละ 6,500บาท
Set D. อลูมิเนียมสีดำ + กระจกใส ราคาชุดละ 6,000บาท
3.ชุดประตูบานเลื่อน (ล้อล่าง) 2 บานพื้นที่ไม่เกิน200*150ซ.ม.
ไม่มีช่องแสง/ ไม่มีกรอบวงกบ / ไม่มีมุ้งลวด
Set A. อลูมิเนียมสีธรรมดา + กระจกใส ราคาชุดละ 5,500บาท
Set B. อลูมิเนียมสีชาหรือสีทอง+กระจกสีดำราคาชุดละ 6,500บาท
Set C. อลูมิเนียมสีขาว(อบสี)+กระจกเขียวใสหรือใสราคาชุดละ 8,500บาท
Set D. อลูมิเนียมสีดำ + กระจกใส ราคาชุดละ 7,500บาท
กระจกมีหลายชนิดแน่นอน แต่หากเราจะแบ่งความแข็งแรงของกระจกเพื่อการใช้งานให้ถูกที่ และไม่บินลงมา ทำอันตราย
ก็น่าจะแบ่งออกได้เป็น 4 ชนิด คือ
1. กระจกธรรมดา หรือ ที่เรียกภาษาเทคนิคว่า Anneal Glass เวลาแตกจะเป็นปากปลาฉลาม ซึ่งอันตราย แต่ยังโชคดี ที่รอยแตกจะวิ่งเข้าสู่กรอบ ทำให้ส่วนใหญ่ ยังไม่หล่นลงมาโดยทันทีทันใด มองจากภายนอกไม่เป็นลอนดูเรียบสวยงาม
2. กระจก Tempered คือ เอากระจกธรรมดามาทำให้ร้อนเกือบหลอมละลายใหม่ แล้วทำให้เย็น จะเป็นการ เพิ่มความแข็งแรง เวลาแตกจะแตกกระจายเป็นเม็ดเล็ก ๆ ไม่เป็นอันตรายมาก แต่จะไม่มีรอยแยกวิ่งเข้ากรอบ ทำให้เมื่อแตกแล้วจะร่วงหล่นลงมาทันที ดูจากภายนอกจะเป็นลอนเล็กน้อย จึงดูหลอกตา ในบางมุมมอง
3. กระจก Heat Strengthen จะ คล้ายกับกระจกสองอย่างแรกปนกัน โดยนำกระจกธรรมดามาให้ความร้อน (แต่ไม่ถึงขนาด Tempered Glass) จึงมีความแข็งแรงมากขึ้น (ไม่เท่ากับ Tempered) เวลาแตกจะแตกแบบ Float มองดูภายนอกเป็นลอนบ้างบางครั้ง แต่ไม่มาก
4. กระจก Laminated ซึ่ง ความจริงไม่น่าจะนำมาเปรียบเทียบกับกระจกทั้ง 3 อย่างแรก เพราะไม่ใช่แตกต่างกัน ที่วิธีการผลิต แต่เป็นการเอากระจก (อะไรก็ได้) มารีด ประกบติดกัน ด้วยแผ่นฟิล์ม ทำให้เกิด ความแข็งแรงมากขึ้น เวลาแตก.. แผ่นฟิล์มจะทำหน้าที่ยึดติด ไม่ให้ร่วงหล่นลงมาได้
จากกระจกที่แบ่งตามความแข็งแรงในการ ใช้ดังกล่าวข้างต้น ก็อาจจะแยกกระจก ออกเป็นไปตาม ความสวยงาม หรือผ่านวิธีกรรมอื่น ๆ ได้อีกต่อไป เช่นทำให้ออกมา เป็นกระจกกรองแสง กระจก สะท้อนแสง กระจกเงา ฯลฯ …. แต่นั่นคงไม่ใช่ ความทำเป็นกระจกตัดแสง กระจกสะท้อนแสง หรือกระจกเงาได้ไม่ยากนัก
ที่มา http://www.tortermban.com
Tags:เรารับออกแบบบ,ออกแบบบ้าน, แบบบ้านชั้นเดียว, แบบแปลนบ้าน, บ้านออกแบบ, บ้าน แปลน, ฟรีแบบบ้าน, แบบบ้านสวย, แบบบ้านสองชั้น, บ้านราคา,เรารับออกแบบบ้าน, ขายแบบบ้าน, แบบต่างๆ สไตล์ต่างๆ หลากหลายแบบ, แบบบ้านสำเร็จ, แบบบ้านสวย, แบบบ้าน 2 ชั้น, แปลนบ้านชั้นเดียว, แบบบ้านชั้นเดียว, แบบบ้านไม้, แบบบ้านทรงไทย, แบบบ้านชั้นครึ่ง, แบบบ้านรีสอร์ท, บ้านและสวน, แบบบ้านฟรี, แบบบ้านราคาประหยัด, แบบบ้านราคาถูก, แบบบ้านประหยัดพลังงาน, แบบบ้านเรือนไทย, แบบบ้าน,แบบบ้านไม้ชั้นเดียว, แบบบ้าน2ชั้น, ออกแบบตกแต่งภายใน, อาคารพานิชย์, หรืออาคารต่างๆ,รับสร้างบ้าน, ตกแต่งภายใน, รับเหมาต่อเติม,ออกแบบโรงงาน,รื้อ บ้าน
ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง จะกระทำโดยผู้ใดได้บ้าง
ผู้ควบคุมงาน จะกระทำโดยผู้ใดได้บ้างนั้น การพิจารณาต้องพิจารณาจากกฎหมาย ๓ ฉบับ คือ:-
• ๑. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒
• ๒. กฎกระทรวงกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๔๙ ออกตามพระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. ๒๕๔๓
• ๓. กฎกระทรวงกำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๐ ออกตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒
๑.พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ แก้ไขโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๒๙ วรรคสอง บัญญัติว่า:- ผู้ควบคุมงานจะเป็นบุคคลใดหรือเป็นเจ้าของอาคารก็ได้ เว้นแต่จะเป็นการต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพวิศวกรรมหรือกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพสถาปัตยกรรม
พิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่า:- การควบคุมงานตามพ.ร.บ.ควบคุมอาคารฯ นั้น โดยปกติแล้ว จะเป็นผู้ใดก็ได้ เช่น ผู้รับเหมา วิศวกร สถาปนิก ฯลฯ หรือเจ้าของอาคารจะเป็นผู้ควบคุมงานด้วยตนเองก็ย่อมได้ ทั้งนี้ เว้นแต่กรณีเข้าข่ายควบคุม(ต้องห้าม)ตามพ.ร.บ.สถาปนิกฯ หรือ พ.ร.บ.วิศวกรฯ จะต้องให้สถาปนิกหรือ วิศวกรในแต่ละสาขาและระดับควบคุมเท่านั้น ดังนั้น เรามาดูกฎหมายของสถาปนิกกับวิศวกร กันดูนะครับว่าบัญญัติไว้อย่างไรบ้าง
๒.กฎกระทรวง กำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๔๙ บัญญัติว่า:-
ข้อ ๒ วิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม ได้แก่ วิชาชีพสถาปัตยกรรมในสาขา ดังต่อไปนี้ (๑) สาขาสถาปัตยกรรมหลัก ในงานตามข้อ ๓ ยกเว้นการออกแบบ วางผังอาคารที่อยู่อาศัยส่วนบุคคลพื้นที่รวมกันไม่เกิน ๑๕๐ ตารางเมตร หรืออาคารเพื่อการเกษตรพื้นที่ไม่เกิน ๔๐๐ ตารางเมตร
ข้อ ๓ งานในวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมแต่ละสาขา มีดังต่อไปนี้ (๓) งานบริหารและอำนวยการก่อสร้าง หมายถึง... การควบคุมการก่อสร้าง...
พิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่า:- การควบคุมการก่อสร้าง นั้น เข้าข่ายเป็นงานในวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมทุกประเภท ทุกขนาด ครับ รายละเอียด ตามข้อ ๓ ของกฎกระทรวงฯ ส่วนกรณีข้อยกเว้นตามข้อ ๒ นั้น:- หลักกฎหมายมีอยู่ว่า ข้อยกเว้นในกฎหมาย การตีความ ต้องตีความโดยเคร่งครัด พิจารณาจากข้อ๒ แล้ว จะเห็นได้ว่า:- กฎหมายใช้คำว่า ยกเว้น การออกแบบวางผังอาคาร เท่านั้น การควบคุมงานไม่มีการยกเว้นแต่อย่างใด ดังนั้น แม้จะเป็นอาคารพักอาศัยพื้นที่ไม่เกิน ๑๕๐ ตารางเมตร ซึ่งได้รับการยกเว้นไม่ต้องใช้สถาปนิกเป็นผู้ออกแบบ
๓.ข้อบังคับสภาวิศวกรว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละระดับสาขาวิศวกรรมโยธาพ.ศ. ๒๕๕๑บัญญัติว่า:-
ข้อ ๖ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธาระดับภาคีวิศวกร ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ได้เฉพาะงาน ประเภทและขนาดดังนี้
(๑) งานออกแบบและคำนวณ..............
(๒) งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต
(ก) อาคารที่มีความสูงไม่เกิน ๘ ชั้น
(ข) อาคารสาธารณะที่มีความสูงไม่เกิน ๘ ชั้น
พิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่า:- อาคารทุกขนาดเข้าข่ายเป็นอาคารควบคุมตาม กฎกระทรวงที่ออกตาม พ.ร.บ.วิศวกรฯ โดยผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธาระดับภาคีวิศวกร ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ได้เฉพาะงาน ประเภทและขนาดดังนี้
(๒) งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต
(ก) อาคารที่มีความสูงไม่เกิน ๘ ชั้น (อาคารของเราสูงเพียง 2 ชั้น แต่ละชั้นสูงถึง 4 เมตร และไม่มีช่วงคานใดถึง 5 เมตรเลย)
สรุปได้ว่า:- อาคารพักอาศัย สองชั้น พื้นที่ ๓๐๐ ตารางเมตร เจ้าของอาคารเป็นผู้ควบคุมงานเองไม่ได้ครับ อย่างน้อยต้องมีสถาปนิกเป็นผู้ควบคุม หรือ ต้องมีวิศวกรควบคุมงาน คนใดคนหนึ่ง ก็ได้
ที่มา http://www.asa.or.th
• ๑. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒
• ๒. กฎกระทรวงกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๔๙ ออกตามพระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. ๒๕๔๓
• ๓. กฎกระทรวงกำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๐ ออกตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒
๑.พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ แก้ไขโดยพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕
มาตรา ๒๙ วรรคสอง บัญญัติว่า:- ผู้ควบคุมงานจะเป็นบุคคลใดหรือเป็นเจ้าของอาคารก็ได้ เว้นแต่จะเป็นการต้องห้ามตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพวิศวกรรมหรือกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพสถาปัตยกรรม
พิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่า:- การควบคุมงานตามพ.ร.บ.ควบคุมอาคารฯ นั้น โดยปกติแล้ว จะเป็นผู้ใดก็ได้ เช่น ผู้รับเหมา วิศวกร สถาปนิก ฯลฯ หรือเจ้าของอาคารจะเป็นผู้ควบคุมงานด้วยตนเองก็ย่อมได้ ทั้งนี้ เว้นแต่กรณีเข้าข่ายควบคุม(ต้องห้าม)ตามพ.ร.บ.สถาปนิกฯ หรือ พ.ร.บ.วิศวกรฯ จะต้องให้สถาปนิกหรือ วิศวกรในแต่ละสาขาและระดับควบคุมเท่านั้น ดังนั้น เรามาดูกฎหมายของสถาปนิกกับวิศวกร กันดูนะครับว่าบัญญัติไว้อย่างไรบ้าง
๒.กฎกระทรวง กำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. ๒๕๔๙ บัญญัติว่า:-
ข้อ ๒ วิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม ได้แก่ วิชาชีพสถาปัตยกรรมในสาขา ดังต่อไปนี้ (๑) สาขาสถาปัตยกรรมหลัก ในงานตามข้อ ๓ ยกเว้นการออกแบบ วางผังอาคารที่อยู่อาศัยส่วนบุคคลพื้นที่รวมกันไม่เกิน ๑๕๐ ตารางเมตร หรืออาคารเพื่อการเกษตรพื้นที่ไม่เกิน ๔๐๐ ตารางเมตร
ข้อ ๓ งานในวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมแต่ละสาขา มีดังต่อไปนี้ (๓) งานบริหารและอำนวยการก่อสร้าง หมายถึง... การควบคุมการก่อสร้าง...
พิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่า:- การควบคุมการก่อสร้าง นั้น เข้าข่ายเป็นงานในวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมทุกประเภท ทุกขนาด ครับ รายละเอียด ตามข้อ ๓ ของกฎกระทรวงฯ ส่วนกรณีข้อยกเว้นตามข้อ ๒ นั้น:- หลักกฎหมายมีอยู่ว่า ข้อยกเว้นในกฎหมาย การตีความ ต้องตีความโดยเคร่งครัด พิจารณาจากข้อ๒ แล้ว จะเห็นได้ว่า:- กฎหมายใช้คำว่า ยกเว้น การออกแบบวางผังอาคาร เท่านั้น การควบคุมงานไม่มีการยกเว้นแต่อย่างใด ดังนั้น แม้จะเป็นอาคารพักอาศัยพื้นที่ไม่เกิน ๑๕๐ ตารางเมตร ซึ่งได้รับการยกเว้นไม่ต้องใช้สถาปนิกเป็นผู้ออกแบบ
๓.ข้อบังคับสภาวิศวกรว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละระดับสาขาวิศวกรรมโยธาพ.ศ. ๒๕๕๑บัญญัติว่า:-
ข้อ ๖ ให้ผู้ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธาระดับภาคีวิศวกร ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ได้เฉพาะงาน ประเภทและขนาดดังนี้
(๑) งานออกแบบและคำนวณ..............
(๒) งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต
(ก) อาคารที่มีความสูงไม่เกิน ๘ ชั้น
(ข) อาคารสาธารณะที่มีความสูงไม่เกิน ๘ ชั้น
พิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่า:- อาคารทุกขนาดเข้าข่ายเป็นอาคารควบคุมตาม กฎกระทรวงที่ออกตาม พ.ร.บ.วิศวกรฯ โดยผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธาระดับภาคีวิศวกร ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา ได้เฉพาะงาน ประเภทและขนาดดังนี้
(๒) งานควบคุมการสร้างหรือการผลิต
(ก) อาคารที่มีความสูงไม่เกิน ๘ ชั้น (อาคารของเราสูงเพียง 2 ชั้น แต่ละชั้นสูงถึง 4 เมตร และไม่มีช่วงคานใดถึง 5 เมตรเลย)
สรุปได้ว่า:- อาคารพักอาศัย สองชั้น พื้นที่ ๓๐๐ ตารางเมตร เจ้าของอาคารเป็นผู้ควบคุมงานเองไม่ได้ครับ อย่างน้อยต้องมีสถาปนิกเป็นผู้ควบคุม หรือ ต้องมีวิศวกรควบคุมงาน คนใดคนหนึ่ง ก็ได้
ที่มา http://www.asa.or.th