ปูนฉาบหนาประมาณ 1.5 ซม. ในเนื้อที่ 1 ตร.ม. ใช้วัสดุดังนี้ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1 ปูนซีเมนต์ผสม = 20 กก.
2 ปูนขาว = 7.7 กก.
3 ทรายละเอียด = 0.03 ลบ.ม.
4 น้ำ = 3 ลิตร
ปริมาณ ผนังก่อคอนกรีตบล๊อค
ผนังก่อคอนกรีตบล๊อค ขนาด 9.0x19.0x39.0 ซม. (ผนังหนา 9.0 ซม.)
เนื้อที่ 1 ตร.ม (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. คอนกรีตบล๊อค = 13 ก้อน
2. ปูนซีเมนต์ = 9.47 กก.
3. ปูนขาว = 5.43 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.04
เนื้อที่ 1 ตร.ม (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. คอนกรีตบล๊อค = 13 ก้อน
2. ปูนซีเมนต์ = 9.47 กก.
3. ปูนขาว = 5.43 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.04
ปริมาณ ผนังก่ออิฐ ก่อหนาเต็มแผ่นอิฐ
ผนังก่ออิฐดินเผาแท่งตัน (อิฐมอญขนาดแผ่นประมาณ 3.3x8.7x17.5 ซม.)
ก่อหนาเต็มแผ่นอิฐ เนื้อที่ 1 ตร.ม. (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. อิฐมอญ = 276 แผ่น
2. ปูนซีเมนต์ผสม = 34 กก.
3. ปูนขาว = 20.59 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.12 ลบ.ม.
5. น้ำ = 20 ลิตร
ก่อหนาเต็มแผ่นอิฐ เนื้อที่ 1 ตร.ม. (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. อิฐมอญ = 276 แผ่น
2. ปูนซีเมนต์ผสม = 34 กก.
3. ปูนขาว = 20.59 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.12 ลบ.ม.
5. น้ำ = 20 ลิตร
ปริมาณ ผนังก่ออิฐ ก่อหนาครึ่งแผ่นอิฐ
ผนังก่ออิฐดินเผาแท่งตัน (อิฐมอญขนาดแผ่นประมาณ 3.3x8.7x17.5 ซม.)
ก่อหนาครึ่งแผ่นอิฐ เนื้อที่ 1 ตร.ม. (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. อิฐมอญ = 138 แผ่น
2. ปูนซีเมนต์ผสม = 16 กก.
3. ปูนขาว = 10.29 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.050 ลบ.ม.
5. น้ำ = 10 ลิตร
ก่อหนาครึ่งแผ่นอิฐ เนื้อที่ 1 ตร.ม. (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
1. อิฐมอญ = 138 แผ่น
2. ปูนซีเมนต์ผสม = 16 กก.
3. ปูนขาว = 10.29 กก.
4. ทรายหยาบ = 0.050 ลบ.ม.
5. น้ำ = 10 ลิตร
ปริมาณส่วนผสม คอนกรีตSTRENGTH 240 กก./ตร.ซม.
คอนกรีตส่วนผสม ค.2 ปริมาณ 1 ลบ.ม. (STRENGTH 240 กก./ตร.ซม.)
ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ = 336 กก.
ทรายหยาบ = 0. 60 ลบ.ม.
หินย่อยหรือกรวด = 1.09 ลบ.ม.
ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ = 336 กก.
ทรายหยาบ = 0. 60 ลบ.ม.
หินย่อยหรือกรวด = 1.09 ลบ.ม.
ปริมาตร คอนกรีตส่วนผสม 1:2:4
คอนกรีตส่วนผสม 1:2:4 โดยปริมาตร ปริมาณ 1 ลบ.ม.
ปูนซีเมนต์ ปอร์ดแลนด์ = 343 กก.
ทรายหยาบ = 0.56 ลบ.ม.
หินย่อยหรือกรวด = 1.09 ลบ.ม.
ปูนซีเมนต์ ปอร์ดแลนด์ = 343 กก.
ทรายหยาบ = 0.56 ลบ.ม.
หินย่อยหรือกรวด = 1.09 ลบ.ม.
ปริมาณส่วนผสม คอนกรีตหยาบ 1:3:5
ปริมาณวัสดุมวลรวมของงานคอนกรีตส่วนผสมชนิดต่าง ๆ (เผื่อวัสดุเสียหายแล้ว)
คอนกรีตส่วนผสม 1:3:5 โดยปริมาตร ปริมาณ 1 ลบ.ม. (คอนกรีตหยาบ)
ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ = 260 กก.
ทรายหยาบ = 0.63 ลบ.ม.
หินย่อยหรือกรวด = 1.03 ลบ.ม.
คอนกรีตส่วนผสม 1:3:5 โดยปริมาตร ปริมาณ 1 ลบ.ม. (คอนกรีตหยาบ)
ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ = 260 กก.
ทรายหยาบ = 0.63 ลบ.ม.
หินย่อยหรือกรวด = 1.03 ลบ.ม.
คิดปริมาณไม้
การคิดปริมาณไม้หน้าตัดเป็นนิ้ว ความยาวเป็นเมตร ให้คูณด้วยตัวคงที่ 0.0228 หน่วยเป็น ลูกบาศก์ฟุต
ตัวอย่าง ไม้ขนาดหน้าตัด 1"x8" ยาว 10 เมตร
คิดเป็นปริมาตร = 1x8x10x0.0228 = 1.824 ลูกบาศก์ฟุต
ตัวอย่าง ไม้ขนาดหน้าตัด 1"x8" ยาว 10 เมตร
คิดเป็นปริมาตร = 1x8x10x0.0228 = 1.824 ลูกบาศก์ฟุต
น้ำหนักเหล็กเส้น
เหล็กเส้นกลมผิวเรียบ คุณภาพ SR 24
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 มม. หนัก 0.222 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 9 มม. หนัก 0.499 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 มม. หนัก 0.888 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 มม. หนัก 1.390 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 19 มม. หนัก 2.230 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มม. หนัก 3.850 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 28 มม. หนัก 4.830 กก./ม.
เหล็กเส้นกลมผิวข้ออ้อย คุณภาพ SD 30, SD 35 และ SD 40
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 9.5 มม. หนัก 0.556 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 มม. หนัก 0.888 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม. หนัก 1.580 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 มม. หนัก 2.470 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มม. หนัก 3.850 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 28 มม. หนัก 4.830 กก./ม
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 มม. หนัก 0.222 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 9 มม. หนัก 0.499 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 มม. หนัก 0.888 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15 มม. หนัก 1.390 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 19 มม. หนัก 2.230 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มม. หนัก 3.850 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 28 มม. หนัก 4.830 กก./ม.
เหล็กเส้นกลมผิวข้ออ้อย คุณภาพ SD 30, SD 35 และ SD 40
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 9.5 มม. หนัก 0.556 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 มม. หนัก 0.888 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม. หนัก 1.580 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 มม. หนัก 2.470 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 มม. หนัก 3.850 กก./ม.
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 28 มม. หนัก 4.830 กก./ม
หน่วยวัดพื้นที่ โฉนดที่ดิน
หน่วยวัดพื้นที่ผิว ได้แก่
ตารางเมตร = หน่วยอนุพันธ์ระบบเอสไอ
1 เฮกตาร์ = 10,000 ตารางเมตร
1 ตารางกิโลเมตร = 1,000,000 ตารางเมตร
1 ตารางเมกะเมตร = 1012 ตารางเมตร
หน่วยอังกฤษ ที่นิยามจากเมตร
1 ตารางฟุต = 0.09290304 ตารางเมตร
1 ตารางหลา = 9 ตารางฟุต = 0.83612736 ตารางเมตร
1 เอเคอร์ = 43,560 ตารางฟุต = 4,046.8564224 ตารางเมตร
1 ตารางไมล์ = 640 เอเคอร์ = 2.5899881103 ตารางกิโลเมตร
หน่วยของไทย ตามวิธีประเพณี
1 ตารางวา = 4 ตารางเมตร
1 งาน = 100 ตารางวา = 400 ตารางเมตร
1 ไร่ = 4 งาน = 400 ตารางวา = 1,600 ตารางเมตร
สูตรที่ใช้บ่อย
พื้นที่สี่เหลี่ยม: ความกว้าง × ความยาว
พื้นที่วงกลม: π×R2 : R = รัศมี
พื้นที่สามเหลี่ยม: ความยาวฐาน × ความสูง / 2.
ตารางเมตร = หน่วยอนุพันธ์ระบบเอสไอ
1 เฮกตาร์ = 10,000 ตารางเมตร
1 ตารางกิโลเมตร = 1,000,000 ตารางเมตร
1 ตารางเมกะเมตร = 1012 ตารางเมตร
หน่วยอังกฤษ ที่นิยามจากเมตร
1 ตารางฟุต = 0.09290304 ตารางเมตร
1 ตารางหลา = 9 ตารางฟุต = 0.83612736 ตารางเมตร
1 เอเคอร์ = 43,560 ตารางฟุต = 4,046.8564224 ตารางเมตร
1 ตารางไมล์ = 640 เอเคอร์ = 2.5899881103 ตารางกิโลเมตร
หน่วยของไทย ตามวิธีประเพณี
1 ตารางวา = 4 ตารางเมตร
1 งาน = 100 ตารางวา = 400 ตารางเมตร
1 ไร่ = 4 งาน = 400 ตารางวา = 1,600 ตารางเมตร
สูตรที่ใช้บ่อย
พื้นที่สี่เหลี่ยม: ความกว้าง × ความยาว
พื้นที่วงกลม: π×R2 : R = รัศมี
พื้นที่สามเหลี่ยม: ความยาวฐาน × ความสูง / 2.